นิคมญี่ปุ่นในประเทศคิริบาส

การปรากฎของชาวญี่ปุ่นในประเทศคิริบาสสามารถย้อนกลับไปได้ถึงช่วงสิ้นสุดคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 เมื่อมีการจ้างแรงงานในการทำเหมืองแร่ฟอสเฟตในคิริบาส แต่มีคนงานบางส่วนมาจากโอกินาวะ ซึ่งน่าจะเข้ามาโดยเร็วที่สุดเมื่อ ค.ศ. 1860 เมื่อเปรียบเทียบกับดินแดนอื่นในภูมิภาคไมโครนีเซียที่อยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 พบว่าชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาส่วนมากเป็นแรงงานที่เข้ามาทำงานชั่วคราว และมีเพียงบางส่วนที่ปักหลักอยู่ในคิริบาส เมื่อคิริบาสได้รับเอกราชใน ค.ศ. 1978 ชาวญี่ปุ่นจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่อย่างถาวร และมีบทบาทสำคัญในสังคมคิริบาส[2][3]

นิคมญี่ปุ่นในประเทศคิริบาส
ประชากรทั้งหมด
17 (2007)[1][fn 1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ปูตาริตาริ, เปติโอ, ตาระวา
ภาษา
กิลเบิร์ต, ญี่ปุ่น, อังกฤษ
ศาสนา
โรมันคาทอลิก, ชินโตและพุทธ
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวญี่ปุ่น, ชาวคิริบาส

เชิงอรรถ แก้

  1. จำนวนนี้นับเฉพาะประชากรชาวญี่ปุ่นในคิริบาส

อ้างอิง แก้

  1. 第5回 太平洋・島サミット開催![ลิงก์เสีย], Plaza for International Cooperation, Official Development Assistance, Office of the Ministry of Foreign Affairs, Japan, retrieved October 17, 2009
  2. Crocombe (2007), p. 54
  3. Kiribati-Japan Relations From a “Nikkei” I-Kiribati Perspective, Kentaro Ono, November 17, 2003, IIST World Forum

บรรณานุกรม แก้

  • Crocombe, R. G., Asia in the Pacific Islands: Replacing the West, 2007, ISBN 982-02-0388-0
  • Crocombe, R. G., The South Pacific, University of the South Pacific, 2001, ISBN 982-02-0154-3
  • MacDonald, Brian, Cinderellas of the Empire: Towards a History of Kiribati and Tuvalu, 2002, ISBN 982-02-0335-X
  • McQuarrie, Peter, Conflict in Kiribati: A History of the Second World War, Macmillan Brown Centre for Pacific Studies, University of Canterbury, 2000, ISBN 1-877175-21-8
  • United Nations ESCAP, Pacific Perspectives on the Commercial Sexual Exploitation and Sexual Abuse of Children and Youth, United Nations publications, 2009, ISBN 978-92-1-120552-7