ดีปบลูพบคาสปารอฟ

การแข่งขันหมากรุกระหว่างดีปบลู-คาสปารอฟ เป็นแมตช์ของคู่แข่งขันระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียงจำนวนหกเกม ฝ่ายหนึ่งคือซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ดีปบลู ซึ่งพัฒนาโดยไอบีเอ็ม อีกฝ่ายหนึ่งคือแชมป์หมากรุกระดับโลก แกรี คาสปารอฟ แมตช์แรกเล่นในฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 ผลปรากฏว่าคาสปารอฟชนะ 4-2 (ชนะ 3, เสมอ 2, แพ้ 1) การรีแมตช์เล่นในปี พ.ศ. 2540 ผลปรากฏว่าดีปบลูชนะ 3½-2½ (ดีปบลูชนะ 2, เสมอ 3, คาสปารอฟชนะ 1)

ดีปบลูพบคาสปารอฟ
รอบแรก
  • 10–17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996: จัดที่ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐ
  • ผล: คาสปารอฟ–ดีปบลู (4–2)
  • บันทึกสถิติ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์แรกที่แพ้เจ้าของแชมป์โลกใน เกมคลาสสิก ตามระเบียบการแข่งขัน

รอบที่สอง (แข่งใหม่)

  • 3–11 พฤษภาคม ค.ศ. 1997: จัดที่นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐ
  • ผล: ดีปบลู–คาสปารอฟ (3½–2½)
  • บันทึกสถิติ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์แรกที่ชนะเจ้าของแชมป์โลกใน การแข่งขัน ตามระเบียบการแข่งขัน

ตารางสรุป แก้

แมตช์ พ.ศ. 2539
เกม # หมากขาว หมากดำ ผลการเล่น หมายเหตุ
1 ดีปบลู คาสปารอฟ 1–0 ยอมแพ้
2 คาสปารอฟ ดีปบลู 1–0 ยอมแพ้
3 ดีปบลู คาสปารอฟ ½–½ เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย
4 คาสปารอฟ ดีปบลู ½–½ เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย
5 ดีปบลู คาสปารอฟ 0–1 ยอมแพ้
6 คาสปารอฟ ดีปบลู 1–0 ยอมแพ้
ผล: คาสปารอฟ–ดีปบลู: 4–2
การรีแมตช์ พ.ศ. 2540
เกม # หมากขาว หมากดำ ผลการเล่น หมายเหตุ
1 คาสปารอฟ ดีปบลู 1–0 ยอมแพ้
2 ดีปบลู คาสปารอฟ 1–0 ยอมแพ้
3 คาสปารอฟ ดีปบลู ½–½ เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย
4 ดีปบลู คาสปารอฟ ½–½ เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย
5 คาสปารอฟ ดีปบลู ½–½ เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย
6 ดีปบลู คาสปารอฟ 1–0 ยอมแพ้
ผล: ดีปบลู–คาสปารอฟ: 3½–2½

แมตช์ พ.ศ. 2539 แก้

เกมที่ 1 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

ดีปบลู–คาสปารอฟ พ.ศ. 2539, เกมที่ 1
abcdefgh
88
77
66
55
44
33
22
11
abcdefgh
ตำแหน่งสุดท้ายหลัง 37.Rxh7+[1]

เกมที่ 1 ดีปบลู-คาสปารอฟ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นการแข่งขันเกมแรกของแมตช์ พ.ศ. 2540 ผลปรากฏว่าดีปบลู คอมพิวเตอร์เล่นหมากรุก เอาชนะแชมป์หมากรุกระดับโลกในเงื่อนไขการแข่งขันหมากรุกทัวร์นาเมนต์ปกติ เช่นเดียวกับการควบคุมเวลาตามปกติ

ดีปบลูพบคาสปารอฟ, Sicilian Defence, Alapin Variation (ECO B22)
1.e4 c5 2.c3 d5 3.exd5 Qxd5 4.d4 Nf6 5.Nf3 Bg4 6.Be2 e6 7.h3 Bh5 8.0-0 Nc6 9.Be3 cxd4 10.cxd4 Bb4 11.a3 Ba5 12.Nc3 Qd6 13.Nb5 Qe7 14.Ne5 Bxe2 15.Qxe2 0-0 16.Rac1 Rac8 17.Bg5 Bb6 18.Bxf6 gxf6 19.Nc4 Rfd8 20.Nxb6 axb6 21.Rfd1 f5 22.Qe3 Qf6 23.d5 Rxd5 24.Rxd5 exd5 25.b3 Kh8 26.Qxb6 Rg8 27.Qc5 d4 28.Nd6 f4 29.Nxb7 Ne5 30.Qd5 f3 31.g3 Nd3 32.Rc7 Re8 33.Nd6 Re1+ 34.Kh2 Nxf2 35.Nxf7+ Kg7 36.Ng5+ Kh6 37.Rxh7+ 1–0 (ยอมแพ้)[2][3]

เกมที่ 2 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

คาสปารอฟ-ดีปบลู พ.ศ. 2539, เกมที่ 2
abcdefgh
88
77
66
55
44
33
22
11
abcdefgh
ตำแหน่งสุดท้ายหลัง 73.Bb5[4]

เกมที่ 2 คาสปารอฟ-ดีปบลู (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เริ่มต้นด้วยการเปิดแบบคาตาลัน โอเพ่นนิง คาสปารอฟเล่นในสิ่งที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการตัดทางเลือกการเล่นของดีปบลู เกมดังกล่าวมีความยาว 73 ตาเดิน แต่ผู้ควบคุมของดีปบลูจำต้องยอมแพ้เกมสำหรับคอมพิวเตอร์ในตำแหน่งซึ่งผู้เล่นทั้งสองฝ่ายมีบิชอปฝั่งละหนึ่งตัว ในขณะที่คาสปารอฟมีเบี้ย 3 ตัว โดยที่ดีปบลูมีเบี้ย 1 ตัว

คาสปารอฟพบดีปบลู, Catalan Opening (ECO E04)
1.Nf3 d5 2.d4 e6 3.g3 c5 4.Bg2 Nc6 5.0-0 Nf6 6.c4 dxc4 7.Ne5 Bd7 8.Na3 cxd4 9.Naxc4 Bc5 10.Qb3 0-0 11.Qxb7 Nxe5 12.Nxe5 Rb8 13.Qf3 Bd6 14.Nc6 Bxc6 15.Qxc6 e5 16.Rb1 Rb6 17.Qa4 Qb8 18.Bg5 Be7 19.b4 Bxb4 20.Bxf6 gxf6 21.Qd7 Qc8 22.Qxa7 Rb8 23.Qa4 Bc3 24.Rxb8 Qxb8 25.Be4 Qc7 26.Qa6 Kg7 27.Qd3 Rb8 28.Bxh7 Rb2 29.Be4 Rxa2 30.h4 Qc8 31.Qf3 Ra1 32.Rxa1 Bxa1 33.Qh5 Qh8 34.Qg4+ Kf8 35.Qc8+ Kg7 36.Qg4+ Kf8 37.Bd5 Ke7 38.Bc6 Kf8 39.Bd5 Ke7 40.Qf3 Bc3 41.Bc4 Qc8 42.Qd5 Qe6 43.Qb5 Qd7 44.Qc5+ Qd6 45.Qa7+ Qd7 46.Qa8 Qc7 47.Qa3+ Qd6 48.Qa2 f5 49.Bxf7 e4 50.Bh5 Qf6 51.Qa3+ Kd7 52.Qa7+ Kd8 53.Qb8+ Kd7 54.Be8+ Ke7 55.Bb5 Bd2 56.Qc7+ Kf8 57.Bc4 Bc3 58.Kg2 Be1 59.Kf1 Bc3 60.f4 exf3 61.exf3 Bd2 62.f4 Ke8 63.Qc8+ Ke7 64.Qc5+ Kd8 65.Bd3 Be3 66.Qxf5 Qc6 67.Qf8+ Kc7 68.Qe7+ Kc8 69.Bf5+ Kb8 70.Qd8+ Kb7 71.Qd7+ Qxd7 72.Bxd7 Kc7 73.Bb5 1–0 (ยอมแพ้)[5][6]

เกมที่ 3 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

เกมที่ 3 ดีปบลู-คาสปารอฟ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) คาสปารอฟเล่นแบบซิซิเลียนดีเฟนซ์ ในขณะที่ดีปบลูรับมือด้วยการเล่นแบบอลาพิน วาเรียชัน เกมมีความยาว 39 ตาเดิน และจบลงด้วยการเสมอ

ดีปบลูพบคาสปารอฟ, Sicilian Defence, Alapin Variation (ECO B22)
1.e4 c5 2.c3 d5 3.exd5 Qxd5 4.d4 Nf6 5.Nf3 Bg4 6.Be2 e6 7.0-0 Nc6 8.Be3 cxd4 9.cxd4 Bb4 10.a3 Ba5 11.Nc3 Qd6 12.Ne5 Bxe2 13.Qxe2 Bxc3 14.bxc3 Nxe5 15.Bf4 Nf3+ 16.Qxf3 Qd5 17.Qd3 Rc8 18.Rfc1 Qc4 19.Qxc4 Rxc4 20.Rcb1 b6 21.Bb8 Ra4 22.Rb4 Ra5 23.Rc4 0-0 24.Bd6 Ra8 25.Rc6 b5 26.Kf1 Ra4 27.Rb1 a6 28.Ke2 h5 29.Kd3 Rd8 30.Be7 Rd7 31.Bxf6 gxf6 32.Rb3 Kg7 33.Ke3 e5 34.g3 exd4+ 35.cxd4 Re7+ 36.Kf3 Rd7 37.Rd3 Raxd4 38.Rxd4 Rxd4 39.Rxa6 b4 ½–½ (เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย)[7][8]

เกมที่ 4 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

เกมที่ 4 คาสปารอฟ-ดีปบลู (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นเกมที่สองจบลงด้วยการเสมอ ถึงแม้วาถึงจุดหนึ่ง ทีมของดีปบลูจะปฏิเสธข้อเสนอให้เสมอกันของคาสปารอฟ เกมนี้เปิดด้วยเซมิสลาฟดีเฟนซ์

คาสปารอฟพบดีปบลู, Queen's Gambit Declined (ECO D30)
1.Nf3 d5 2.d4 c6 3.c4 e6 4.Nbd2 Nf6 5.e3 Nbd7 6.Bd3 Bd6 7.e4 dxe4 8.Nxe4 Nxe4 9.Bxe4 0-0 10.0-0 h6 11.Bc2 e5 12.Re1 exd4 13.Qxd4 Bc5 14.Qc3 a5 15.a3 Nf6 16.Be3 Bxe3 17.Rxe3 Bg4 18.Ne5 Re8 19.Rae1 Be6 20.f4 Qc8 21.h3 b5 22.f5 Bxc4 23.Nxc4 bxc4 24.Rxe8+ Nxe8 25.Re4 Nf6 26.Rxc4 Nd5 27.Qe5 Qd7 28.Rg4 f6 29.Qd4 Kh7 30.Re4 Rd8 31.Kh1 Qc7 32.Qf2 Qb8 33.Ba4 c5 34.Bc6 c4 35.Rxc4 Nb4 36.Bf3 Nd3 37.Qh4 Qxb2 38.Qg3 Qxa3 39.Rc7 Qf8 40.Ra7 Ne5 41.Rxa5 Qf7 42.Rxe5 fxe5 43.Qxe5 Re8 44.Qf4 Qf6 45.Bh5 Rf8 46.Bg6+ Kh8 47.Qc7 Qd4 48.Kh2 Ra8 49.Bh5 Qf6 50.Bg6 Rg8 ½–½ (เสมอโดยการตกลงทั้งสองฝ่าย)[9][10]

เกมที่ 5 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

เกมที่ 5 ดีปบลู-คาสปารอฟ (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ถือได้ว่าเป็นจุดเปลียนของแมตช์การแข่งขัน ในเกมนี้ คาสปารอฟซึ่งเล่นหมากดำ เลือกที่จะเปิดในแบบที่แตกต่างออกไป โดยเลือกใช้โฟร์ไนทส์เกม จากซิซิเลียนดีเฟนซ์ ซึ่งเขาเลือกใช้ในเกมที่ 1 และเกมที่ 3 ในตาเดินที่ 23 คาสปารอฟยื่นข้อเสนอให้ผลจบลงด้วยการเสมอ แต่ทีมดีปบลูปฏิเสธ ผลปรากฏว่าคาสปารอฟชนะ เกมนี้เป็นเกมเดียวของแมตช์ที่หมากดำชนะ

ดีปบลูพบคาสปารอฟ, Scotch Four Knights Game (ECO C47)
1.e4 e5 2.Nf3 Nf6 3.Nc3 Nc6 4.d4 exd4 5.Nxd4 Bb4 6.Nxc6 bxc6 7.Bd3 d5 8.exd5 cxd5 9.0-0 0-0 10.Bg5 c6 11.Qf3 Be7 12.Rae1 Re8 13.Ne2 h6 14.Bf4 Bd6 15.Nd4 Bg4 16.Qg3 Bxf4 17.Qxf4 Qb6 18.c4 Bd7 19.cxd5 cxd5 20.Rxe8+ Rxe8 21.Qd2 Ne4 22.Bxe4 dxe4 23.b3 Rd8 (=) 24.Qc3 f5 25.Rd1 Be6 26.Qe3 Bf7 27.Qc3 f4 28.Rd2 Qf6 29.g3 Rd5 30.a3 Kh7 31.Kg2 Qe5 32.f3 e3 33.Rd3 e2 34.gxf4 e1=Q 35.fxe5 Qxc3 36.Rxc3 Rxd4 37.b4 Bc4 38.Kf2 g5 39.Re3 Be6 40.Rc3 Bc4 41.Re3 Rd2+ 42.Ke1 Rd3 43.Kf2 Kg6 44.Rxd3 Bxd3 45.Ke3 Bc2 46.Kd4 Kf5 47.Kd5 h5 0–1 (ยอมแพ้)[11][12]

เกมที่ 6 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

คาสปารอฟ-ดีปบลู พ.ศ. 2539, เกมที่ 6
abcdefgh
88
77
66
55
44
33
22
11
abcdefgh
ตำแหน่งสุดท้ายหลัง 43.Rb4[13]

เกมที่ 6 คาสปารอฟ-ดีปบลู (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นการแข่งขันเกมสุดท้ายของแมตช์ มีความยาว 43 ตาเดิน ในตอนท้ายเกม หมากของดีปบลูถูกกักอยู่กับควีนทางด้านข้างของกระดาน เกือบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันคิงของคนเอง ดีปบลูถอนตัว เนื่องจากมันเสียหมากอย่างรวดเร็ว การเดินต่อไปของคาสปารอฟอาจเป็นไปได้ว่าจะเป็น 44. Qe7 เพื่อแลกควีน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้เบี้ยของเขาเปลี่ยนเป็นหมากอื่นและเล่นต่อ

คาสปารอฟพบดีปบลู, Queen's Gambit Declined (ECO D30)
1.Nf3 d5 2.d4 c6 3.c4 e6 4.Nbd2 Nf6 5.e3 c5 6.b3 Nc6 7.Bb2 cxd4 8.exd4 Be7 9.Rc1 0-0 10.Bd3 Bd7 11.0-0 Nh5 12.Re1 Nf4 13.Bb1 Bd6 14.g3 Ng6 15.Ne5 Rc8 16.Nxd7 Qxd7 17.Nf3 Bb4 18.Re3 Rfd8 19.h4 Nge7 20.a3 Ba5 21.b4 Bc7 22.c5 Re8 23.Qd3 g6 24.Re2 Nf5 25.Bc3 h5 26.b5 Nce7 27.Bd2 Kg7 28.a4 Ra8 29.a5 a6 30.b6 Bb8 31.Bc2 Nc6 32.Ba4 Re7 33.Bc3 Ne5 34.dxe5 Qxa4 35.Nd4 Nxd4 36.Qxd4 Qd7 37.Bd2 Re8 38.Bg5 Rc8 39.Bf6+ Kh7 40.c6 bxc6 41.Qc5 Kh6 42.Rb2 Qb7 43.Rb4 1–0 (ยอมแพ้)[14][15]

รีแมตช์ พ.ศ. 2540 แก้

เกมที่ 1 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

เกมที่ 1 คาสปารอฟ-ดีปบลู (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2540) เริ่มต้นด้วยเดอะคิงส์อินเดียนแอคแทค ซึ่งนำไปสู่ชัยชนะของคาสปารอฟใน 45 ตาเดิน

คาสปารอฟพบดีปบลู, Réti Opening, King's Indian Attack (ECO A07)
1.Nf3 d5 2.g3 Bg4 3.b3 Nd7 4.Bb2 e6 5.Bg2 Ngf6 6.0-0 c6 7.d3 Bd6 8.Nbd2 0-0 9.h3 Bh5 10.e3 h6 11.Qe1 Qa5 12.a3 Bc7 13.Nh4 g5 14.Nhf3 e5 15.e4 Rfe8 16.Nh2 Qb6 17.Qc1 a5 18.Re1 Bd6 19.Ndf1 dxe4 20.dxe4 Bc5 21.Ne3 Rad8 22.Nhf1 g4 23.hxg4 Nxg4 24.f3 Nxe3 25.Nxe3 Be7 26.Kh1 Bg5 27.Re2 a4 28.b4 f5 29.exf5 e4 30.f4 Bxe2 31.fxg5 Ne5 32.g6 Bf3 33.Bc3 Qb5 34.Qf1 Qxf1+ 35.Rxf1 h5 36.Kg1 Kf8 37.Bh3 b5 38.Kf2 Kg7 39.g4 Kh6 40.Rg1 hxg4 41.Bxg4 Bxg4 42.Nxg4+ Nxg4+ 43.Rxg4 Rd5 44.f6 Rd1 45.g7 1–0 (ยอมแพ้)[16][17]

มีการกล่าวหาว่าตาเดินที่ 44 ของดีปบลูเป็นผลจากบั๊กที่ทำให้ไม่สามารถตัดสินใจจุดที่ต้องการได้ ก่อให้เกิดระบบความปลอดภัยแม้ขัดข้อง (fail-safe)[18][19][20]

เกมที่ 2 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

เกมที่ 3 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

เกมที่ 4 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

เกมที่ 5 คาสปารอฟ-ดีปบลู แก้

เกมที่ 6 ดีปบลู-คาสปารอฟ แก้

อ้างอิง แก้

  1. Pandolfini 1997, p. 164.
  2. Pandolfini 1997, p. 164.
  3. "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 1". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  4. Pandolfini 1997, p. 166.
  5. Pandolfini 1997, pp. 165-166.
  6. "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 2". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  7. Pandolfini 1997, p. 167.
  8. "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 3". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  9. Pandolfini 1997, p. 168.
  10. "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 4". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  11. Pandolfini 1997, p. 169.
  12. "Deep Blue vs. Garry Kasparov, Philadelphia 1996, Game 5". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  13. Pandolfini 1997, p. 170.
  14. Pandolfini 1997, p. 170.
  15. "Garry Kasparov vs. Deep Blue, Philadelphia 1996, Game 6". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  16. Pandolfini 1997, pp. 13-39.
  17. "Garry Kasparov vs. Deep Blue, New York 1997, Game 1". chessgames.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 22, 2021. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021.
  18. Tim Hornyak. "Did a bug in Deep Blue lead to Kasparov's defeat?". cnet.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 12, 2020. สืบค้นเมื่อ March 21, 2020.
  19. Roberts, Jacob (2016). "Thinking Machines: The Search for Artificial Intelligence". Distillations. 2 (2): 14–23. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 19, 2018. สืบค้นเมื่อ March 22, 2018.
  20. Silver, Nate. The Signal and the Noise: Why so Many Predictions Fail—but Some Don't. New York: Penguin, 2012. Print.

ข้อมูลหลัก แก้

อ่านเพิ่ม แก้