ชลประทาน
ชลประทาน เป็นการทดน้ำและระบายน้ำ ใช้เพื่อช่วยให้พืชผลการเกษตรเติบโต บำรุงรักษาภูมิประเทศ และปลูกพืชคืนสภาพดินเปลี่ยนสภาพในพื้นที่แห้งแล้งระหว่างช่วงฝนตกไม่เพียงพอ นอกเหนือจากนี้ ชลประทานยังมีประโยชน์อื่นในการผลิตพืชผล ซึ่งรวมถึงการปกป้องพืชจากความเย็น[1] การยับยั้งการเติบโตของวัชพืชในไร่ธัญพืช[2] และการช่วยป้องกันดินอัดตัวคายน้ำ[3] ระบบชลประทานยังใช้ยับยั้งฝุ่น การกำจัดสิ่งปฏิกูลและในการเหมืองแร่
ชลประทานมักจะศึกษาร่วมกับการระบายน้ำซึ่งเป็นการน้ำผิวดินหรือใต้ออกตามธรรมชาติหรือโดยการประดิษฐ์ของมนุษย์จากบริเวณที่กำหนด
ชลประทานเป็นสิ่งสำคัญของการเกษตรมานานกว่า 5000 ปีและเป็นผลผลิตของวัฒนธรรมหลายวัฒนธรรม ในทางประวัติศาสตร์ชลประทานเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจและสังคมทั่วโลกจากเอเชียจนถึงสหรัฐอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้
ประวัติแก้ไข
ชลประทานแบบตลอดปีใช้บนที่ราบเมโสโปเตเมียที่ซึ่งมีการใช้น้ำพืชตลอดฤดูกาลเพาะปลูกโดยบังคับน้ำผ่านตารางชองช่องเล็ก ๆ ที่สร้างขึ้นในทุ่ง[4]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ Snyder, R. L.; Melo-Abreu, J. P. (2005). "Frost protection: fundamentals, practice, and economics – Volume 1" (PDF). Food and Agriculture Organization of the United Nations. ISSN: 1684-8241.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|booktitle=
ถูกละเว้น (help) - ↑ Williams, J. F. "Managing Water for Weed Control in Rice". UC Davis, Department of Plant Sciences. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2007-03-14.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) (help) - ↑ USA. "Aridpoop -05-15". สืบค้นเมื่อ 2012-06-19.
- ↑ Hill, Donald: A History of Engineering
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |