จักรยานและคตินิยมสิทธิสตรี

ผู้หญิงได้รับอิสรภาพเป็นอย่างมากเมื่อมีการคิดค้นจักรยาน[1][2][3][4] จักรยานทำให้พวกเธอมีอิสระในการเดินทางออกนอกบ้านด้วยตัวเอง [2][3] การขี่จักรยานก็จำเป็นต้องมีเสื้อผ้าที่ทะมัดทะแมงมากขึ้นสำหรับผู้หญิงและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของเครื่องแต่งกายหญิงในสังคม[5][6]บุคคลหนึ่งคนหนึ่งจากช่วงเวลาที่ดูนักปั่นจักรยานหญิงกล่าวว่า "มันยากที่จะเชื่อได้ว่าพวกเขาเป็นผู้หญิงเคยต้องที่เดินออกไปในตอนบ่ายเพื่อรอขบวนรถม้า"[6]

ผู้หญิงกับจักรยานช่วงค.ศ.1890

ตัวอย่าง แก้

อลิซาเบธ เคดี สแตนตัน เคยเขียนว่าจักรยานเป็นเครื่องมือซึ่งกระตุ้นให้ผู้หญิงอยากที่จะแข็งแกร่งมากขึ้นและอยากมีบทบาทในสังคม ซูซาน บี แอนโทนี่ พูดในค.ศ. 1896 ว่า "ฉันอยากจะบอกคุณเกี่ยวกับจักรยาน ฉันว่ามันมันทำมาเพื่อปลดปล่อยผู้หญิงมากกว่าสิ่งอื่นใดในโลก ฉันยืนและชื่นชมยินดีทุกครั้งที่เห็นผู้หญิงขี่่จักรยานไปไหนมาไหนเอง"

บีททิซ กริมชอว์ ผู้ออกเดินทางผจญภัยได้อธิบายชีวิตวัยเยาว์ของเด็กสาวตามความชอบธรรมแบบวิคตอเรีย เธอเป็นเด็กหญิงนักปฏิวัติ ฉันซื้อจักรยานด้วยความลำบาก ขี่ออกไปคนเดียวโดยไม่มีผู้ใหญ่คอยดู ไมล์และไมล์ไกลเกินกว่าขีดจำกัดของม้าที่วิ่งเหยาะ ๆ โลกเปิดกว้างต่อหน้าฉัน และเมื่อฉันอายุได้ 21 ปี ฉันได้ออกเดินทาง ไกลจากบ้านเพื่อค้นหาว่าโลกจะมีอะไรให้กับลูกสาวผู้ปฏิวัติ"[7]

การแพทย์ในศตวรรษที่ 19 แก้

บทความจาก The Literary Digest ได้รับการทบทวนวรรณกรรมจากช่วงเวลาที่กล่าวถึงหน้าจักรยานและตั้งข้อสังเกตว่าThe Springfield Republicanเตือนว่า "ผู้หญิง เด็กหญิงและผู้ชายวัยกลางคน" ขี่จักรยานมากเกินไป[8]

ความกังวลเกี่ยวกับจักรยานเกี่ยวกับนักปั่นจักรยานหญิงถูกแจกแจงอย่างละเอียดโดยแพทย์ A. Shadwell ในบทความ 1897 สำหรับ National Review ในลอนดอนเรื่อง "อันตรายที่ซ่อนอยู่ของการขี่จักรยาน"[9] บทความของเขาถูกกล่าวถึงในภายหลังและวิเคราะห์ใน The Advertiser[10]

ผู้ที่ชื่นชอบจักรยานไม่เห็นด้วยกับการประเมินทางการแพทย์นี้และยืนยันว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งที่ดีในการปรับปรุงสุขภาพและความมีชีวิตชีวา[6]

อ้างอิง แก้

  1. Roberts, Jacob (2017). "Women's work". Distillations. 3 (1): 6–11. สืบค้นเมื่อ 28 July 2017.
  2. 2.0 2.1 Swedan, Nadya (2001). Women's Sports Medicine and Rehabilitation. Lippincott Williams & Wilkins. p. xvii. ISBN 978-0834217317.
  3. 3.0 3.1 Vivanco, Luis Antonio (2013). Reconsidering the Bicycle: An Anthropological Perspective on a New (old) Thing. Routledge. pp. 32–34. ISBN 978-0415503884.
  4. Aronson, Sidney H. (Mar 1952). "The Sociology of the Bicycle". Social Forces. 20 (3): 305. doi:10.2307/2571596. JSTOR 2571596.
  5. Vivanco, Luis Antonio (2013). Reconsidering the Bicycle: An Anthropological Perspective on a New (old) Thing. Routledge. pp. 32–34. ISBN 978-0415503884.
  6. 6.0 6.1 6.2 Herlihy, David V. (2006). Bicycle: The History. Yale University Press. pp. 270–273. ISBN 978-0300120479.
  7. Grimshaw, Beatrice (April 1939). "How I found adventure". สืบค้นเมื่อ 6 August 2016.
  8. "The 'Bicycle Face'". The Literary Digest. 11 (19): 8 (548). 7 September 1895.
  9. Shadwell, A. (1 February 1897). "The hidden dangers of cycling". National Review. London. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-02. สืบค้นเมื่อ 2018-02-19.
  10. "The Intoxicating Bicycle". The Advertiser. Adelaide. 16 March 1897. p. 6.