คุรุปูรณิมา
คุรุปูรณิมาเป็นธรรมเนียมบูชาคุรุ[3] เฉลิมฉลองในอินเดีย เนปาล และภูฏาน ในศาสนิกชนของศาสนาฮินดู, ศาสนาไชนะ และศาสนาพุทธ โดยคุรุปูรณิมาตรงกับวันพระจันทร์เต็มเดือน (ปูรณิมา) ของเดือน อศัธ (มิถุนายน-กรกฎาคม) ตามปฏิทินฮินดู[4][5] เทศกาลนี้เป็นที่นิยมขึ้นโดยมหาตมะ คานธี ผู้ใช้โอกาสนี้แสดงการคารวะต่อคุรุทางจิตวิญญาณของท่าน ศรีมัฐ ราชจันทระ[6] อีกชื่อหนึ่งของเทศกาลคือ วยาสปูรณิมา ในฐานะวันเกิดของเวทวยาสะ ฤาษีผู้นิพนธ์มหาภารตะและพระเวท[7]
คุรุปูรณิมา | |
---|---|
จัดขึ้นโดย | ไชนะ ฮินดู และพุทธศาสนิกชน ส่วนใหญ่ในอินเดีย |
ความสำคัญ | แสดงความกตัญญูต่อคุรุทางจิตวิญญาณ[1] |
การเฉลิมฉลอง | บูชาคุรุและเดินทางไปยังมนเทียร[2] |
การถือปฏิบัติ | คุรุปูชา |
วันที่ | อศัธ ปูรณิมา (ศุกลปักษ์ มิถุนายน-กรกฎาคม) |
ความถี่ | ทุกปี |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Guru Purnima India: Date, Story, Quotes, Importance, Special Messages". SA News. สืบค้นเมื่อ 23 July 2021.
- ↑ "Guru Purnima 2020: Know Why We Celebrate Guru Purnima". NDTV.com. สืบค้นเมื่อ 2020-07-03.
- ↑ "Guru Purnima to be observed tomorrow: Know significance, time, tithi". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2021-07-23. สืบค้นเมื่อ 2021-07-23.
- ↑ गुरू पूर्णिमा - Guru Purnima: https://www.bhaktibharat.com/festival/guru-purnima
- ↑ Article poornima.html "Guru Poornima (Vyas Puja)" เก็บถาวร 2020-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน As on 22 July 2013 on www.Sanatan.org
- ↑ Thomas Weber (2 December 2004). Gandhi as Disciple and Mentor. Cambridge University Press. pp. 34–36. ISBN 978-1-139-45657-9.
- ↑ "Guru Purnima 2019: Date, Time and Significance of Vyasa Purnima". News18. สืบค้นเมื่อ 2019-12-29.