คาร์ทูม (อังกฤษ: Khartoum; อาหรับ: الخرطوم) คือเมืองหลวงของรัฐคาร์ทูมและประเทศซูดาน ตั้งอยู่ในบริเวณที่บรรจบกันของแม่น้ำไวต์ไนล์ที่ไหลมาจากทะเลสาบวิกตอเรีย และแม่น้ำบลูไนล์ที่ไหลมาจากประเทศเอธิโอเปีย ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 5,274,321 คน

คาร์ทูม
เมืองหลวง
จากบน: คาร์ทูมในเวลากลางคืน, มัสยิดคาร์ทูม, มหาวิทยาลัยคาร์ทูม และสะพานอัลมิกร์นิมร์
ตราอย่างเป็นทางการของคาร์ทูม
ตรา
สมญา: 
"เมืองหลวงรูปสามเหลี่ยม"
คาร์ทูมตั้งอยู่ในประเทศซูดาน
คาร์ทูม
คาร์ทูม
ที่ตั้งในประเทศซูดานและทีปแอฟริกา
คาร์ทูมตั้งอยู่ในแอฟริกา
คาร์ทูม
คาร์ทูม
คาร์ทูม (แอฟริกา)
พิกัด: 15°30′2″N 32°33′36″E / 15.50056°N 32.56000°E / 15.50056; 32.56000พิกัดภูมิศาสตร์: 15°30′2″N 32°33′36″E / 15.50056°N 32.56000°E / 15.50056; 32.56000[1]
ประเทศ ซูดาน
รัฐคาร์ทูม
พื้นที่[2]
 • เมืองหลวง1,010 ตร.กม. (390 ตร.ไมล์)
ความสูง[1]381 เมตร (1,250 ฟุต)
ประชากร
 (เมือง ค.ศ. 2021, ที่อื่น ๆ ค.ศ. 2013)[3][4]
 • เมืองหลวง639,598 คน
 • เขตเมือง6,017,000 คน
 • รวมปริมณฑล5,274,321 คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลาแอฟริกากลาง)

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของคาร์ทูม (ค.ศ. 1971–2000)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 39.7
(103.5)
42.5
(108.5)
45.2
(113.4)
46.2
(115.2)
46.8
(116.2)
46.3
(115.3)
44.5
(112.1)
43.5
(110.3)
44.0
(111.2)
43.0
(109.4)
41.0
(105.8)
39.0
(102.2)
46.8
(116.2)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 30.7
(87.3)
32.6
(90.7)
36.5
(97.7)
40.4
(104.7)
41.9
(107.4)
41.3
(106.3)
38.5
(101.3)
37.6
(99.7)
38.7
(101.7)
39.3
(102.7)
35.2
(95.4)
31.7
(89.1)
37.0
(98.6)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 23.2
(73.8)
25.0
(77)
28.7
(83.7)
31.9
(89.4)
34.5
(94.1)
34.3
(93.7)
32.1
(89.8)
31.5
(88.7)
32.5
(90.5)
32.4
(90.3)
28.1
(82.6)
24.5
(76.1)
29.9
(85.8)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 15.6
(60.1)
16.8
(62.2)
20.3
(68.5)
24.1
(75.4)
27.3
(81.1)
27.6
(81.7)
26.2
(79.2)
25.6
(78.1)
26.3
(79.3)
25.9
(78.6)
21.0
(69.8)
17.0
(62.6)
22.8
(73)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 8.0
(46.4)
8.6
(47.5)
12.6
(54.7)
12.7
(54.9)
18.5
(65.3)
20.2
(68.4)
17.8
(64)
18.0
(64.4)
17.7
(63.9)
17.5
(63.5)
11.0
(51.8)
6.2
(43.2)
6.2
(43.2)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 0.0
(0)
0.0
(0)
0.1
(0.004)
0.0
(0)
3.9
(0.154)
4.2
(0.165)
29.6
(1.165)
48.3
(1.902)
26.7
(1.051)
7.8
(0.307)
0.7
(0.028)
0.0
(0)
121.3
(4.776)
ความชื้นร้อยละ 27 22 17 16 19 28 43 49 40 28 27 30 29
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.1 mm) 0.0 0.0 0.1 0.0 0.9 0.9 4.0 4.2 3.4 1.2 0.0 0.0 14.7
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 316.2 296.6 316.2 318.0 310.0 279.0 269.7 272.8 273.0 306.9 303.0 319.3 3,580.7
แหล่งที่มา 1: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก,[5] NOAA (สูงสุดและความชื้น 1961–1990)[6]
แหล่งที่มา 2: Deutscher Wetterdienst (ดวงอาทิตย์, 1961–1990)[7]

ประชากร แก้

ปี ประชากร
เมือง เขตปริมณฑล
1907[8] 69,349 n.a.
1956 93,100 245,800
1973 333,906 748,300
1983 476,218 1,340,646
1993 947,483 2,919,773
สำมะโนเบื้องต้น 2008 3,639,598 5,274,321

ใน ค.ศ. 2019 มีชาวซีเรียเกือบ 250,000 คนที่อาศัยอยู่ในคาร์ทูม ซึ่งเท่ากับร้อยละ 5 ของประชากรเมือง ส่วนใหญ่เป็นผู้ชายวัยหนุ่มที่หนีสงครามจากซีเรีย ซูดานเป็นประเทศเดียวที่รับนักเดินทางที่ถือพาสปอร์ตซีเรียโดยไม่มีวีซ่า[9]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Where is Khartoum, The Sudan?". worldatlas.com. 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-01-28.
  2. "Sudan: States, Major Cities, Towns & Agglomeration - Population Statistics, Maps, Charts, Weather and Web Information". www.citypopulation.de.
  3. "Sudan Facts on Largest Cities, Populations, Symbols - Worldatlas.com". www.worldatlas.com (ภาษาอังกฤษ). 7 April 2017. สืบค้นเมื่อ 9 February 2018.
  4. Demographia World Urban Areas (PDF) (17th ed.). Demographia. May 2021. p. 42. สืบค้นเมื่อ 8 May 2021.
  5. "World Weather Information Service – Khartoum". World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 6 May 2010.
  6. "Khartoum Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 16 January 2014.
  7. "Klimatafel von Khartoum / Sudan" (PDF). Baseline climate means (1961-1990) from stations all over the world (ภาษาเยอรมัน). Deutscher Wetterdienst. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 March 2017. สืบค้นเมื่อ 22 October 2016.
  8.   Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Khartum" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 15 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 773.
  9. Tobin, Sarah A. (13 November 2019). "The New Lost Boys of Sudan". The Project on Middle East Political Science. สืบค้นเมื่อ 4 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้