การทูตแบบใช้นาวิกานุภาพ
ในการเมืองระหว่างประเทศ การทูตแบบใช้นาวิกานุภาพ[1] (อังกฤษ: Gunboat diplomacy) หมายถึง การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายนโยบายการต่างประเทศโดยการแสดงนาวิกานุภาพ (naval power) ให้ปรากฏอย่างชัดแจ้ง หรือสร้างภัยคุกคามทางทหารทั้งทางตรงและทางอ้อม หากไม่สามารถยอมรับข้อตกลงของกำลังที่เหนือกว่าได้[2] การทูตแบบใช้นาวิกานุภาพถือได้ว่าเป็นหนึ่งในรูปแบบของการใช้อำนาจครอบงำ (hegemony)[3]
นักการทูตและนักวิชาการทางเรือ เจมส์ เคเบิล ให้นิยามปรากฏการณ์นี้ว่า "เป็นการใช้หรือสร้างภัยคุกคามโดยการใช้กำลังทางน้ำภายใต้ขอบเขตที่ไม่ถึงขั้นการทำสงคราม เพื่อคว้าความได้เปรียบหรือเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เผชิญความสูญเสียในข้อพิพาทระหว่างประเทศหรือต่อชาวต่างชาติในดินแดนหรือเขตอำนาจของรัฐตนเอง"[4]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ราชบัณฑิตสถาน (2001). ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตสถาน. ราชบัณฑิตสถาน. สืบค้นเมื่อ 2022-10-27.
- ↑ Cable, James. "Gunboat Diplomacy: Political Applications of Limited Naval Force" Chatto and Windus for the Institute for Strategic Studies, 1971, p. 10
- ↑ Rowlands, K. (2012). "Decided Preponderance at Sea”: Naval Diplomacy in Strategic Thought. Naval War College Review, 65(4), 5–5. Retrieved from [1] Link to article: [2]
- ↑ J. Cable, Gunboat diplomacy, 1919–1991: political applications of limited naval force (third edition), Basingstoke: Macmillan/IISS, 1994, p. 14.
อ่านเพิ่มเติม
แก้- Arnold, Bruce Makoto (2005). Diplomacy Far Removed: A Reinterpretation of the U.S. Decision to Open Diplomatic Relations with Japan (วิทยานิพนธ์). University of Arizona. [3]
- Cable, James: Gunboat diplomacy. Political Applications of Limited Naval Forces, London 1971 (re-edited 1981 and 1994)
- Graham-Yooll, Andrew. Imperial skirmishes: war and gunboat diplomacy in Latin America (2002).
- Healy, D. Gunboat Diplomacy in the Wilson Era. The U.S. Navy in Haiti 1915–1916, Madison WIS 1976.
- Hagan, K. J. American Gunboat Diplomacy and the Old Navy 1877–1889, Westport/London 1973.
- Preston, A. and J. Major. Send a Gunboat! A study of the Gunboat and its role in British policy, 1854–1904, London 1967.
บทความ
แก้- Long, D. F.: "Martial Thunder": The First Official American Armed Intervention in Asia, in: Pacific Historical Review, Vol. 42, 1973, pp. 143–162.
- Willock, R.: Gunboat Diplomacy: Operations of the (British) North America and West Indies Squadron, 1875–1915, Part 2, in: American Neptune, Vol. XXVIII, 1968, pp. 85–112.
- Bauer, K. J.: The "Sancala" Affair: Captain Voorhees Seizes an Argentine Squadron, in: American Neptune, Vol. XXIV, 1969, pp. 174–186