การต่อต้านลัทธิราชาธิปไตยในประเทศญี่ปุ่น

การต่อต้านลัทธิราชาธิปไตย ในประเทศญี่ปุ่น เป็นแรงผลักดันอันเล็กน้อยในช่วงคริสตศตวรรษที่ 20

ประวัติ แก้

ในปี ค.ศ. 1908 จดหมายกล่าวหาถูกเขียนโดยนักปฏิวัติญี่ปุ่น ซึ่งปฏิเสธความเป็นเทสิทธิ์ของจักรพรรดิ และถูกคุกคามในชีวิตของพวกเขา[1] ในปี ค.ศ. 1910 โคโตะกุ ซูชูอิ และ 10 คน ได้เขียนถึงการลอบสังหารจักรพรรดิ[2] ในปี ค.ศ. 1923 1925 และปี ค.ศ. 1932 จักรพรรดิโชวะ ได้รอดชีวิตจากการพยายามลอบสังหาร[3]

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง กลุ่มคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นศัตรูกับจักรพรรดิ ในนามพรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น ได้เรียกร้องให้ยกเลิกระบบจักรพรรดิ[4] ซึ่งต่อมาพรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่นได้บอยคอตพิธีเปิดประชุมสภาในปี ค.ศ. 1949 เพราะการมีจักรพรรดิโชวะ[5] พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่นได้ดำเนินการเป็นปฏิปักษ์กับจักรพรรดิ จนกระทั่งจักรพรรดิโชวะสวรรคต[6]

ระหว่างที่จักรพรรดิได้เยือนเมืองโอตสึ ประเทศญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1951และจังหวัดฮกไกโด ในปี ค.ศ. 1954 แผ่นป้ายคอมมิวนิสต์และใบปลิวปฏิปักษ์ครอบครัวจักรพรรดิได้ติดให้เห็นทั่วเมือง[7][8]

ในปี ค.ศ. 1951 นักศึกษากว่าสามหมื่นคนในมหาวิทยาลัยเกียวโต ได้ประท้วงเพื่อต่อต้านจักรพรรดิโชวะ[9]

แหล่งข้อมูลอื่น"Remove Hirohito, Tokyo Reds Ask". The Pittsburgh Press. October 10, 1945. แก้

อ้างอิง แก้

  1. "PLOT AGAINST THE MIKADO. ALLEGED ANARCHIST ASSOCIATION. AMONG JAPANESE IN AMERICA". Evening News. 17 January 1908.
  2. "Kōtoku Shūsui". Encyclopædia Britannica.
  3. Masako Gavin, Ben Middleton (Aug 21, 2013). Japan and the High Treason Incident. Routledge.
  4. "Japanese Communist Party Asks End of Feudal System". Berkeley Daily Gazette. February 23, 1946.
  5. "Anti-Hirohito Diet Boycott". The Sydney Morning Herald. March 21, 1949.
  6. "JAPAN'S ROLE: A MILESTONE; Hirohito's Death Puts Focus on New Identity". The New York Times. January 8, 1989.
  7. "Horrified Citizens Scrub Walls of Opposition As Hirohito Visits". Eugene Register-Guard. November 16, 1951.
  8. "Hirohito, Wife Tour Island". Pittsburgh Post-Gazette. August 9, 1954.
  9. "3,000 Leftist Students Heckle Japanese Emperor". Pittsburgh Post-Gazette. November 13, 1951.