ไฮโดรเจนไอโอไดด์

(เปลี่ยนทางจาก กรดไฮโดรไอโอดิก)

ไฮโดรเจนไอโอไดด์ (HI) เป็นสารประกอบขนาดสองอะตอม สารละลายของ HI เรียกว่ากรดไอโอไฮโดรอิก (iohydroic acid) หรือ กรดไฮโดรไอโอดิก (hydroiodic acid) มีฤทธิ์เป็นกรดแก่ อย่างไรก็ตามไฮโดรเจนไอโอไดด์นั้นมีสถาะเป็นก๊าซที่สภาวะมาตรฐานแต่กรดไอโอไฮโดรอิกเป็นสารละลาย HI ใช้ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และอนินทรีย์โดยเป็นแหล่งของไอโอดีนและใช้ในการทำปฏิกิริยารีดักชัน

กรดไอโอไฮโดรอิก
Space-filling model of hydrogen iodide
Space-filling model of hydrogen iodide
Space-filling model of water
Space-filling model of water
The iodide anion
The iodide anion
Space-filling model of the hydronium cation
Space-filling model of the hydronium cation
ชื่อ
IUPAC name
Iodane[1]
ชื่ออื่น
Hydronium iodide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
EC Number
  • 233-109-9
RTECS number
  • MW3760000
UNII
  • InChI=1S/BrH/h1H checkY
    Key: CPELXLSAUQHCOX-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/BrH/h1H
    Key: CPELXLSAUQHCOX-UHFFFAOYAZ
  • I
คุณสมบัติ
HI(aq)
มวลโมเลกุล 127.91 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไม่มีสี
กลิ่น ฉุน
ความหนาแน่น 1.70 g/mL, azeotrope
(57% HI by weight)
จุดเดือด 127 องศาเซลเซียส (261 องศาฟาเรนไฮต์; 400 เคลวิน) 1.03 bar, azeotrope
สารละลายที่เป็นน้ำ
pKa -9.3
ความอันตราย
GHS labelling:
The corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H314
P260, P264, P280, P301+P330+P331, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P310, P321, P363, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
กรดไฮโดรฟลูออริก
กรดไฮโดรคลอริก
กรดไฮโดรโบรมิก
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ไฮโดรเจนไอโอไดด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อ้างอิง แก้

  1. Henri A. Favre; Warren H. Powell, บ.ก. (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013. Cambridge: The Royal Society of Chemistry. p. 131.
  • Nishikata, E., T.; Ishii, and T. Ohta. “Viscosities of Aqueous Hydrochloric Acid Solutions, and Densities and Viscosities of Aqueous Hydroiodic Acid Solutions”. J. Chem. Eng. Data. 26. 254-256. 1981.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้