กรดแล็กติก หรือ กรดน้ำนม เป็นสารประกอบเคมีซึ่งมีบทบาทในกระบวนการทางชีวเคมีหลายอย่าง แยกได้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1870 โดยคาร์ล วิลเฮล์ม ชีลเลอ นักเคมีชาวสวีเดน กรดแล็กติกเป็นกรดคาร์บอกซิลิกมีสูตรเคมี C2H4OHCOOH มีหมู่ไฮดรอกซิลติดกับหมู่คาร์บอกซิล ทำให้เป็นกรดแอลฟาไฮดร็อกซี (AHA)

กรดแล็กติก
Skeletal formula of L-lactic acid
Ball-and-stick model of L-lactic acid
Racemic lactic acid sample.jpg
ชื่อตาม IUPAC 2-Hydroxypropanoic acid
ชื่ออื่น Milk acid
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [50-21-5][CAS]
ChEBI 422
ATC code G01AD01,QP53AG02 (WHO)
SMILES
 
ChemSpider ID 96860
คุณสมบัติ
สูตรโมเลกุล C3H6O3
มวลโมเลกุล 90.08 g mol−1
จุดหลอมเหลว

L: 53 °C
D: 53 °C
D/L: 16.8 °C

จุดเดือด

122 °C, 395 K, 252 °F

pKa 3.86[1]
อุณหเคมี
1361.9 kJ/mol, 325.5 kcal/mol, 15.1 kJ/g, 3.61 kcal/g
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง
carboxylic acidsที่เกี่ยวข้อง
acetic acid
glycolic acid
propionic acid
3-hydroxypropanoic acid
malonic acid
butyric acid
hydroxybutyric acid
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง 1-propanol
2-propanol
propionaldehyde
acrolein
sodium lactate
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ในสารละลาย สามารถเสียโปรตอนจากหมู่คาร์บ็อกซิล ทำให้ได้ไอออนแล็กเตต CH3CH(OH)COO pKa น้อยกว่า 1 หน่วยเมื่อเทียบกับกรดแอซิติก หมายความว่า กรดแล็กติกเสียโปรตอนได้ง่ายกว่ากรดแอซิติกสิบเท่า ความเป็นกรดที่สูงกว่านี้เป็นผลจากสะพานไฮโดรเจนในโมเลกุลระหว่างหมู่แอลฟาไฮดร็อกซิลกับหมู่คาร์บ็อกซิเลต ทำให้หมู่คาร์บ็อกซิเลตดึงดูดโปรตอนของมันได้เข้มน้อยลง

อ้างอิงแก้ไข

  1. Dawson, R. M. C. et al., Data for Biochemical Research, Oxford, Clarendon Press, 1959.