กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

(เปลี่ยนทางจาก IMF)

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1947 ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติอยู่ก่อนแล้ว ในปัจจุบันมีสมาชิก 190 ประเทศ (ประเทศอันดอร์รา (Andorra) เป็นสมาชิกอันดับที่ 190 เข้าร่วมเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2020)

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ตราอาร์มของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ชื่อย่อIMF
ก่อตั้ง27 ธันวาคม 1945; 78 ปีก่อน (1945-12-27)
ประเภทInternational financial institution
วัตถุประสงค์Promote international monetary co-operation, ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, foster sustainable economic growth, make resources available to members experiencing balance of payments difficulties[1]
สํานักงานใหญ่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ
ที่ตั้ง
พิกัด38°53′56″N 77°2′39″W / 38.89889°N 77.04417°W / 38.89889; -77.04417พิกัดภูมิศาสตร์: 38°53′56″N 77°2′39″W / 38.89889°N 77.04417°W / 38.89889; -77.04417
ภูมิภาค
ทั่วโลก
สมาชิก
190 ประเทศ [2]
ภาษาทางการ
อังกฤษ[1]
กรรมการผู้จัดการ
Kristalina Georgieva
หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์
Gita Gopinath[3]
องค์กรแม่
คณะกรรมการบริษัท
องค์กรปกครอง
สหประชาชาติ[4][5]
พนักงาน
2,400[1]
เว็บไซต์www.imf.org

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Boughton 2001, p. 7 n.5.
  2. "IMF Members' Quotas and Voting Power, and IMF Board of Governors". IMF (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 8 April 2023.
  3. "Christine Lagarde Appoints Gita Gopinath as IMF Chief Economist".
  4. "Factsheet: The IMF and the World Bank". IMF. 21 September 2015. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  5. "About the IMF Overview". www.imf.org. สืบค้นเมื่อ 1 August 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้