ยาต้านรีโทรไวรัส

(เปลี่ยนทางจาก Antiretroviral)

ยาต้านรีโทรไวรัส (อังกฤษ: Antiretroviral drugs) คือยาต้านไวรัสประเภทหนึ่ง ใช้สำหรับรักษาการติดเชื้อรีโทรไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มไวรัสเอชไอวี โดยอาศัยการรักษาร่วมโดยยาสามถึงสีชนิด โดยรู้จักว่าเป็นการักษารีโทรไวรัสที่มีประสิทธิภาพสูง (อังกฤษ: Highly Active Antiretroviral Therapy: HAART) ในหลายสถาบันสุขภาพทั่วโลกต่างแนะนำให้ใช้การรักษาด้วยยาต้านรีโทรไวรัสสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ทุกคน ทั้งนี้ผู้ป่วยจำเป็นต้องบริหารยานี้อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความรุนแรงจากอาการอันไม่พึงประสงค์ของยาและป้องกันการดื้อยา ลายองค์กรมีความพยายามให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมกับแผนการรักษาใทางเลือกต่างๆ และแนะนำให้วิเคราะห์ความเสียงและประโยชน์จาการบริหารยาเพื่อลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (อังกฤษ: Viral Load)[1]

ซิโดวูดีน (อังกฤษ: Zidovudine) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสชนิดแรกที่ได้รับการรับรองให้ใช้โดยคณะกรรมการอาหารและยา ของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1987[2] และได้มีการพัฒนายาขนานใหม่เรื่อยมาจนแบ่งได้หลายกลุ่มในปัจจุบัน

ประวัติ แก้

ชนิด แก้

  • ชนิดยับยั้งการนำเข้า (Entry inhibitors) หรือการรวมกัน (fusion inhibitors) โดยไปรบกวนการจับของเชื้อเอชไอวีวัน (HIV-1) กับ host cell โดยการขัดขวางเป้าหมาย มียาที่สำคัญในกลุ่มนี้คือ มาราไวรอค (Maraviroc) และเอ็นฟูเวอร์ไทด์ (Enfuvirtide)
  • แอนตาโกนิสต์ของตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor antagonists) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสตัวแรกที่ไม่ได้มีเป้าหมายที่ไวรัสโดยตรง โดยการจับกับตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor) บนผิวของทีเซลล์และขัดชวางการจับของไวรัสต่อเซลล์ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเชื้อเอชไอวีจะใช้ตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ในการยึดเกาะเข้าจับกับทีเซลล์ ดังนั้นหากไวรัสไม่สามารถยึดเกาะได้ก็จะยังผลมาด้วยการไม่สามารถนำเข้าเซลล์ตลอดจนการรีพลิเคชันได้
  • การยับยั้งเอนไซมม์นิวคลิโอไซด์รีเวิร์สทรานส์คริปเทส (Nucleoside reverse transcriptase inhibitors: NRTI) และยับยั้งนิวคลิโอไทด์ริเสิร์สทรานส์ตนิปเทส (Neucleotide Reverse transciptase inhibitors: NtRTI)

[3] Two additional inhibitors under investigation are bevirimat [4] and Vivecon.

สูตรและแนวทางการรักษา แก้

เภสัชบำบัด แก้

อาการอันไม่พึงประสงค์ แก้

อ้างอิง แก้

  1. Dybul M, Fauci AS, Bartlett JG, Kaplan JE, Pau AK; Panel on Clinical Practices for Treatment of HIV (September 2002). "Guidelines for using antiretroviral agents among HIV-infected adults and adolescents". Ann. Intern. Med. 137 (5 Pt 2): 381–433. PMID 12617573.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. AIDS therapy. First tentative signs of therapeutic promise.
  3. Barr SD, Smiley JR, Bushman FD (2008). Hope, Thomas J. (บ.ก.). "The interferon response inhibits HIV particle production by induction of TRIM22". PLoS Pathog. 4 (2): e1000007. doi:10.1371/journal.ppat.1000007. PMC 2279259. PMID 18389079. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  4. Panacos Pharmaceuticals. "Clinical Trial: Phase 2 Safety and Efficacy Study of Bevirimat Functional Monotherapy in HIV Treatment-Experienced Patients for 2 Weeks*". ClinicalTrials.gov. สืบค้นเมื่อ 2007-08-28.