ไฟล์:Elephant battle between Prince Intharaja and Muen Dong Nakhon.png

ดูภาพที่มีความละเอียดสูงกว่า(1,664 × 1,144 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 2.94 เมกะไบต์, ชนิดไมม์: image/png)

Wikimedia Commons logo รูปภาพหรือไฟล์เสียงนี้ ต้นฉบับอยู่ที่ คอมมอนส์ รายละเอียดด้านล่าง เป็นข้อความที่แสดงผลจาก ไฟล์ต้นฉบับในคอมมอนส์
คอมมอนส์เป็นเว็บไซต์ในโครงการสำหรับเก็บรวบรวมสื่อเสรี ที่ คุณสามารถช่วยได้

ความย่อ

คำอธิบาย
ไทย: จิตรกรรมเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร รูปที่ 5 แผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ "ภาพพระอินทราชาชนช้างกับหมื่นนคร" ผลงานของพระยาจินดารังสรรค์ (สาย) ขณะยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสุวรรณสิทธิ์ โคลงประกอบภาพนี้เป็นบทนิพนธ์ของหม่อมเจ้าประภากร มาลากุล พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ นิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2430

ในภาพนี้ กล่าวตามความในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาว่า ในปีมะแม จุลศักราช 825 พุทธศักราช 2006 พระเจ้าติโลกราชแห่งนครเชียงใหม่นำกองทัพชาวล้านนาลงมาตีเมืองสุโขทัย (ในโคลงภาพพระราชพงศาวดารกล่าวว่าได้ล้ำแดนลงมาจนถึงเมืองกำแพงเพชร) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พร้อมด้วยพระราชโอรสนามพระอินทราชา ทรงยกทัพหลวงไปต่อสู้กับทัพเชียงใหม่ พระอินทราชาตีกองทัพของพระยายุธิษเฐียรซึ่งเป็นกองทัพหน้าของฝ่ายเชียงใหม่แตก แล้วถลำลึกเข้าปะทะกับกองทัพของหมื่นนครซึ่งเป็นพระเจ้าอาของพระเจ้าติโลกราช (ในเอกสารล้านนาเรียกว่า หมื่นด้งนคร) ถึงขนาดได้ชนช้างกัน ช้างข้าศึกรุมช้างของพระอินทราชาถึง 4 ช้าง พระอินทราชาต้องกระสุนปืนเข้าที่พระพักตร์ (ในโคลงภาพพระราชพงศาวดารกล่าวว่าทรงบาดเจ็บ แต่หลักฐานอื่นๆ หลายแห่งไม่มีข้อมูลยืนยันชัดเจนว่าเพียงทรงบาดเจ็บหรือถึงแก่สิ้นพระชนม์) ฝ่ายอยุธยาจำต้องถอยทัพกลับกรุง ส่วนฝ่ายล้านนาเชียงใหม่ก็เลิกทัพกลับไปเช่นกันด้วยเห็นว่าไม่อาจช่วงชิงเมืองสุโขทัยมาครองได้ตามที่คิด

สำเนาภาพที่ปรากฏในที่นี้ นำมาจากสำเนาภาพที่ตีพิมพ์ในหนังสือโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ฉบับพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมจันทร์ เทวกุล ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง วันที่ 1 มิถุนายน พุทธศักราช 2513
วันที่
แหล่งที่มา File:โคลงภาพ_-_๒๕๑๒.pdf
ผู้สร้างสรรค์ พระยาจินดารังสรรค์ (สาย)

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน00:47, 16 มกราคม 2567รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 00:47, 16 มกราคม 25671,664 × 1,144 (2.94 เมกะไบต์)Xiengyod~commonswikidownsize image
20:42, 15 มกราคม 2567รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 20:42, 15 มกราคม 25673,317 × 2,305 (6.2 เมกะไบต์)Xiengyod~commonswikiUploaded a work by พระยาจินดารังสรรค์ (สาย) from File:โคลงภาพ_-_๒๕๑๒.pdf with UploadWizard

หน้าต่อไปนี้ โยงมาที่ภาพนี้:

ข้อมูลเกี่ยวกับภาพ