โอพิสโธคอนตา (อังกฤษ: Opisthokonta) หรือ โอพิสโธคอนส์ เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ของยูแคริโอต ประกอบไปด้วยทั้งอาณาจักรสัตว์และเห็ดรา[1] และรวมกันกับจุลินทรีย์ยูแคริโอตขนาดเล็ก ซึ่งบางครั้งถูกจัดให้อยู่ในไฟลัมโคอาโนซัว (ถูกจัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา ตามอัตภาพ)[2] กลุ่มโอพิสโธคอนตานี้ (บางครั้งถูกเรียกว่า "กลุ่มฟังไจ/เมตาซัว")[3] ถูกยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียว[2][4][5][6]

โอพิสโธคอนตา
Agelas clathrodes (สีส้ม ด้านหน้า)
Iciligorgia schrammi (สีชมพูเข้ม ด้านหลัง)
Plexaurella nutans (เป็นแท่ง)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
Eukaryota
เคลด: อะมอร์เฟีย
Amorphea
เคลด: โอบาซัว
Obazoa
ไม่ได้จัดลำดับ: โอพิสโธคอนตา
Opisthokonta

อนุกรมวิธาน

แก้

โอพิสโธคอนตาแบ่งออกเป็นโฮโลไมโคตา (เห็ดราและสิ่งมีชีวิตที่ใกล้เคียงกับเห็ดรามากกว่าสัตว์) และโฮโลซัว (สัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นที่ใกล้เคียงกับสัตว์มากกว่าเห็ดรา) ดังนี้

อ้างอิง

แก้
  1. Shalchian-Tabrizi K, Minge MA, Espelund M, และคณะ (7 May 2008). Aramayo R (บ.ก.). "Multigene phylogeny of choanozoa and the origin of animals". PLoS ONE. 3 (5): e2098. Bibcode:2008PLoSO...3.2098S. doi:10.1371/journal.pone.0002098. PMC 2346548. PMID 18461162.
  2. 2.0 2.1 Steenkamp ET, Wright J, Baldauf SL (January 2006). "The protistan origins of animals and fungi". Mol. Biol. Evol. 23 (1): 93–106. doi:10.1093/molbev/msj011. PMID 16151185.
  3. "Fungi/Metazoa group". สืบค้นเมื่อ 2009-03-08.
  4. Huang, Jinling; Xu, Ying; Gogarten, Johann Peter (November 2005). "The presence of a haloarchaeal type tyrosyl-tRNA synthetase marks the opisthokonts as monophyletic". Molecular Biology and Evolution. 22 (11): 2142–2146. doi:10.1093/molbev/msi221.
  5. Parfrey, Laura Wegener; และคณะ (December 2006). "Evaluating support for the current classification of eukaryotic diversity". PLOS Genetics. 2 (12): e220. doi:10.1371/journal.pgen.0020220. PMC 1713255. PMID 17194223.
  6. Torruella, Guifré; และคณะ (February 2012). "Phylogenetic relationships within the Opisthokonta based on phylogenomic analyses of conserved single-copy protein domains". Molecular Biology and Evolution. 29 (2): 531–544. doi:10.1093/molbev/msr185.