เหตุระเบิดในบรัสเซลส์ พ.ศ. 2559

เช้าวันที่ 22 มีนาคม 2559 เกิดเหตุระเบิดตะปูไล่เลี่ยกันสามครั้งในประเทศเบลเยียม สองครั้งที่ท่าอากาศยานบรัสเซลส์ในซาเฟินเตม และอีกหนึ่งครั้งที่สถานีรถไฟใต้ดินมาลบีค/มาลเบคในกรุงบรัลเซลส์ จากเหตุดังกล่าว มีผู้เสียชีวิต 31 คนและมือระเบิดฆ่าตัวตาย 3 คน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 300 คน[3] พบระเบิดอีกลูกหนึ่งระหว่างการค้นหาท่าอากาศยาน[4] ผู้ต้องสงสัยคนที่สี่กำลังหลบหนี องค์การรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL) อ้างความรับผิดชอบสำหรับการโจมตีดังกล่าว[5]

เหตุระเบิดในบรัสเซลส์ พ.ศ. 2559
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map/multi บรรทัดที่ 27: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/Belgium Brussels" does not exist
สถานที่ท่าอากาศยานบรัสเซลส์และสถานีมาลเบก/มาลแบ็กในกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
พิกัดระเบิดที่ท่าอากาศยานครั้งแรก:

50°53′52″N 4°29′00″E / 50.8977754°N 4.4833392°E / 50.8977754; 4.4833392 (Brussels Airport first explosion)[1]
ระเบิดที่ท่าอากาศยานครั้งที่สอง:
50°53′53″N 4°28′59″E / 50.8980663°N 4.4831139°E / 50.8980663; 4.4831139 (Brussels Airport second explosion)[1]
ระเบิดที่สถานีรถไฟใต้ดิน:

50°50′38″N 4°22′37″E / 50.8438166°N 4.3769521°E / 50.8438166; 4.3769521 (Maelbeek/Maalbeek metro station explosion)[1]
วันที่22 มีนาคม 2559
07:58 – 09:11 น. (UTC+1)
เป้าหมายพลเรือน, สถานีขนส่ง
ประเภทระเบิดฆ่าตัวตาย, การสังหารหมู่
อาวุธระเบิดไตรอะซิโตนไตรเพอร์ออกไซด์
ตาย34 คน (ผู้เสียหาย 31 คน, ผู้ก่อการ 3 คน)
เจ็บ300 คน (วิกฤต 61 คน)
ผู้ก่อเหตุ5
ผู้ต้องสงสัยรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์[2]
เหตุจูงใจอิสลามมูลวิวัติ

เหตุระเบิดเหล่านี้เป็นการก่อการร้ายครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์เบลเยียม[6] รัฐบาลเบลเยียมประกาศไว้ทุกข์ทั่วประเทศสามวัน[7]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 "Brussels explosions: What we know about airport and metro attacks". BBC News. 22 March 2016.
  2. Tom Batchelor. "Brussels terror attack - Islamic State behind Belgium bomb blasts - World - News - Daily Express". Express.co.uk.
  3. AFP, rédaction en ligne avec Belga et. "Attentats de Bruxelles: nouveau bilan provisoire de 300 blessés, dont 61 en soins intensifs et 4 non-identifiés (LIVE)". lalibre.be. สืบค้นเมื่อ 23 March 2016.
  4. J. V. et A. P. (23 March 2016). "Le troisième kamikaze identifié, un testament retrouvé à Schaerbeek". RTBF Info.
  5. "Another bomb found in Brussels after attacks kill at least 34; Islamic State claims responsibility". The Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 22 March 2016.
  6. James, Neuger; Stearns, Jonathan. "Belgium's Worst Terror Attack Ever Leaves 31 Dead in Brussels". Bloomberg Business. Bloomberg Business. สืบค้นเมื่อ 22 March 2016.
  7. "Belgium to Begin 3 Days of National Mourning". The New York Times. 22 March 2016. สืบค้นเมื่อ 22 March 2016.