เบนโซเอไพรีน (C20H12) เป็นโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่มีวงเบนซีน 5 วง เป็นสารก่อกลายพันธุ์และสารก่อมะเร็งที่สำคัญมาก จัดอยู่ในกลุ่มของเบนโซไพรีน เบนโซเอไพรีนเกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ที่อุณหภูมิระหว่าง 300 - 600 °C ใน พ.ศ. 2536 พบเบนโซเอไพรีนเป็นองค์ประกอบของน้ำมันดิน และพบถึงความสามารถในการก่อมะเร็ง พบหลักฐานว่าคนงานในอุตสาหกรรมน้ำมันเป็นมะเร็งผิวหนังสูง ต่อมาจึงพบว่า เบนโซเอไพรีนในน้ำมันสามารถก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองได้

เบนโซเอไพรีน
Benzo[a]pyrene
ชื่อ
IUPAC name
Benzo[a]pyrene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ECHA InfoCard 100.000.026 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • c1\cc2\cc/cc3ccc4cc5ccccc5c1c4c23
คุณสมบัติ
C20H12
มวลโมเลกุล 252.316 g·mol−1
ความหนาแน่น 1.24 g/cm³ (25 °C)
จุดหลอมเหลว 179 °C
จุดเดือด 495 °C
0.11 mg/L (25 °C)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
โครงสร้างทางเคมีของ benzo[a]pyrene-7,8-diol-9,10-epoxide ที่เป็นสารก่อมะเร็ง
การยึดเกาะกับดีเอ็นเอ (DNA adduct) (กลาง) ของเบนโซเอไพรีน ซึ่งเป็นสารก่อกลายพันธุ์ที่สำคัญในควันบุหรี่ [1]

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้