เฉลิมพล เอกอุรุ
นายเฉลิมพล เอกอุรุ (19 สิงหาคม พ.ศ. 2488 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2559[1][2]) อดีตกรรมการมูลนิธิการต่างประเทศสราญรมย์[3] อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ประวัติแก้ไข
นายเฉลิมพล เอกอุรุ เกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2488 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จบการศึกษาประกาศนียบัตรชั้นสูงทางรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Diploma in international Relations Institute of Socical Studies The Hague Master of arts (M.A.) International Law and Relations Columbis University Newyork ประเทศสหรัฐอเมริกา
การทำงานแก้ไข
อดีตรองปลัดกระทรวงต่างประเทศ, อดีตรองอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย และเอกอัครราชทูตไทย ประจำสาธารณรัฐฮังการี โครเอเชีย บอสเนีย เฮอร์เซโกวีนา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แก้ไข
- พ.ศ. 2547 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[4]
- พ.ศ. 2542 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[5]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[6]
ข่าวการถึงกรรมแก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ http://www.matichon.co.th/news/59111
- ↑ http://www.thairath.co.th/content/586171.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2547/D/105/078.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๕, ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๓, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๘๓, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕