อายะตุดดัยน์ (อาหรับ: آيَة ٱلدَّيْن) เป็นโองการที่ 282 ของซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์[1] โดยเป็นโดงการที่ยาวที่สุดในซูเราะฮ์ที่ยาวที่สุดในอัลกุรอาน ซึ่งมีการอธิบายถึงแนวคิดเกี่ยวกับการกู้ยืม[2][3]

ข้อความและความหมาย แก้

ข้อความและการถอดอักษร แก้

یَـٰۤأَیُّهَا ٱلَّذِینَ ءَامَنُوۤا۟ إِذَا تَدَایَنتُم بِدَیۡنٍ إِلَىٰۤ أَجَلࣲ مُّسَمࣰّى فَٱكۡتُبُوهُ ۚ وَلۡیَكۡتُب بَّیۡنَكُمۡ كَاتِبُۢ بِٱلۡعَدۡلِ ۚ وَلَا یَأۡبَ كَاتِبٌ أَن یَكۡتُبَ كَمَا عَلَّمَهُ ٱللَّهُ ۚ فَلۡیَكۡتُبۡ وَلۡیُمۡلِلِ ٱلَّذِی عَلَیۡهِ ٱلۡحَقُّ وَلۡیَتَّقِ ٱللَّهَ رَبَّهُۥ وَلَا یَبۡخَسۡ مِنۡهُ شَیۡـࣰٔا ۚ فَإِن كَانَ ٱلَّذِی عَلَیۡهِ ٱلۡحَقُّ سَفِیهًا أَوۡ ضَعِیفًا أَوۡ لَا یَسۡتَطِیعُ أَن یُمِلَّ هُوَ فَلۡیُمۡلِلۡ وَلِیُّهُۥ بِٱلۡعَدۡلِ ۚ وَٱسۡتَشۡهِدُوا۟ شَهِیدَیۡنِ مِن رِّجَالِكُمۡ ۖ فَإِن لَّمۡ یَكُونَا رَجُلَیۡنِ فَرَجُلࣱ وَٱمۡرَأَتَانِ مِمَّن تَرۡضَوۡنَ مِنَ ٱلشُّهَدَاۤءِ أَن تَضِلَّ إِحۡدَىٰهُمَا فَتُذَكِّرَ إِحۡدَىٰهُمَا ٱلۡأُخۡرَىٰ ۚ وَلَا یَأۡبَ ٱلشُّهَدَاۤءُ إِذَا مَا دُعُوا۟ ۚ وَلَا تَسۡـَٔمُوۤا۟ أَن تَكۡتُبُوهُ صَغِیرًا أَوۡ كَبِیرًا إِلَىٰۤ أَجَلِهِۦ ۚ ذَ ٰ⁠لِكُمۡ أَقۡسَطُ عِندَ ٱللَّهِ وَأَقۡوَمُ لِلشَّهَـٰدَةِ وَأَدۡنَىٰۤ أَلَّا تَرۡتَابُوۤا۟ إِلَّاۤ أَن تَكُونَ تِجَـٰرَةً حَاضِرَةࣰ تُدِیرُونَهَا بَیۡنَكُمۡ فَلَیۡسَ عَلَیۡكُمۡ جُنَاحٌ أَلَّا تَكۡتُبُوهَا ۗ وَأَشۡهِدُوۤا۟ إِذَا تَبَایَعۡتُمۡ ۚ وَلَا یُضَاۤرَّ كَاتِبࣱ وَلَا شَهِیدࣱ ۚ وَإِن تَفۡعَلُوا۟ فَإِنَّهُۥ فُسُوقُۢ بِكُمۡ ۗ وَٱتَّقُوا۟ ٱللَّهَ ۖ وَیُعَلِّمُكُمُ ٱللَّهُ ۗ وَٱللَّهُ بِكُلِّ شَیۡءٍ عَلِیمࣱ ۝
282 Yā’ayyuha l-ladhīna ’āmanū ’idhā tadāyantum bidaynin ’ilā ’ajali m-musamman faktubūh(u), walyaktu b-baynanakum kātibum bil‘adl(i), walā ya’ba kātibun ’an y-yaktuba kamā ‘allamahu l-lāh(u), falyaktub walyumlili l-ladhī ‘alayhi l-ḥaqqu walyattaqi l-lāha rabbahū walā yabkhs minhu shay’ā, fa’in kāna l-ladhī ‘alayhi l-ḥaqqu safīhan ’aw ḍa‘ifan ’aw lā yastaṭī‘u ’an y-yumilla huwa falyumlil waliyyuhū bil‘adl(i), wastashhidū shahīdayni mi r-rijālikum, fa’i l-lam yakūnā rajulayni farajulun w-wamra’atāni mimman tarḍawna mina sh-shuhadā’i ’an taḍilla ’iḥdāhumā fatudhakkira ’iḥdāhumā l-’ukhrā, walā ya’ba sh-shuhadā’u ’idhā mā du‘ū, walā tas’amū ’an taktubūhu ṣaghīran ’aw kabīran ’ilā ajalih(ī), dhālikum ’aqsaṭu ‘inda l-lāhi wa’aqwamu lishshahādati wa’adnā ’allā tartābū, ’illā ’an takūna tijāratan ḥāḍiratan tudīrūnahā baynakum falaysa ‘alaykum junāḥun ’allā taktubūhā, wa’ashhidū ’idhā tabāy‘tum, walā yuḍārra kātibun walā shahīdun, wa’in taf‘alū fa’innahū fusūqun bikum, wattaqu l-lāh(a), wayu‘allimukumu l-lāh(u), wallāhu bikulli shay’in ‘alīm(un)


يَٰٓأَيُّهَا اَ۬لَّذِينَ ءَامَنُوٓا۟ إِذَا تَدَايَنتُم بِدَيۡنٍ اِلَىٰٓ أَجَلٍ مُّسَمًّى فَاكۡتُبُوهُ ج وَلۡيَكۡتُب بَّيۡنَكُمۡ كَاتِبٌۢ بِالۡعَدۡلِ ج وَلَا يَابَ كَاتِبٌ اَن يَكۡتُبَ كَمَا عَلَّمَهُ اَ۬للَّهُ ج فَلۡيَكۡتُبۡ وَلۡيُمۡلِلِ اِ۬لَّذِے عَلَيۡهِ اِ۬لۡحَقُّ وَلۡيَتَّقِ اِ۬للَّهَ رَبَّهُۥ وَلَا يَبۡخَسۡ مِنۡهُ شَيۡـًٔا ج فَإِن كَانَ اَ۬لَّذِے عَلَيۡهِ اِ۬لۡحَقُّ سَفِيهًا اَوۡ ضَعِيفًا اَوۡ لَا يَسۡتَطِيعُ أَن يُمِلَّ هُوَ فَلۡيُمۡلِلۡ وَلِيُّهُۥ بِالۡعَدۡلِ ج وَاسۡتَشۡهِدُوا۟ شَهِيدَيۡنِ مِن رِّجَالِكُمۡ صلے فَإِن لَّمۡ يَكُونَا رَجُلَيۡنِ فَرَجُلٌ وَامۡرَأَتَانِ مِمَّن تَرۡضَوۡنَ مِنَ اَ۬لشُّهَدَآءِ اَ۬ن تَضِلَّ إِحۡدٜيٰهُمَا فَتُذَكِّرَ إِحۡدٜيٰهُمَا اَ۬لُاخۡرٜىٰ ج وَلَا يَابَ اَ۬لشُّهَدَآءُ اِٜذَا مَا دُعُوا۟ ج وَلَا تَسۡـَٔمُوٓا۟ أَن تَكۡتُبُوهُ صَغِيرًا اَوۡ كَبِيرًا اِلَىٰٓ أَجَلِهِۦ ج ذَٰلِكُمُۥٓ أَقۡسَطُ عِندَ اَ۬للَّهِ وَأَقۡوَمُ لِلشَّهَٰدَةِ وَأَدۡنٜىٰٓ أَلَّا تَرۡتَابُوٓا۟ صلے إِلَّآ أَن تَكُونَ تِجَٰرَةٌ حَاضِرَةٌ تُدِيرُونَهَا بَيۡنَكُمۡ فَلَيۡسَ عَلَيۡكُمۡ جُنَاحٌ اَلَّا تَكۡتُبُوهَا قلے وَأَشۡهِدُوٓا۟ إِذَا تَبَايَعۡتُمۡ ج وَلَا يُضَآرَّ كَاتِبٌ وَلَا شَهِيدٌ ج وَإِن تَفۡعَلُوا۟ فَإِنَّهُۥ فُسُوقٌۢ بِكُمۡ قلے وَاتَّقُوا۟ اَ۬للَّهَ صلے وَيُعَلِّمُكُمُ اَ۬للَّهُ قلے وَاَ۬للَّهُ بِكُلِّ شَےۡءٍ عَلِيمٌ ۝
281 Yā’ayyuha l-ladhīna ’āmanū ’idhā tadāyantum bidaynin ilā ’ajali m-musamman faktubūh(u), walyaktu b-baynanakum kātibum bil‘adl(i), walā yāba kātibun an y-yaktuba kamā ‘allamahu l-lāh(u), falyaktub walyumlili l-ladhī ‘alayhi l-ḥaqqu walyattaqi l-lāha rabbahū walā yabkhs minhu shay’ā, fa’in kāna l-ladhī ‘alayhi l-ḥaqqu safīhan aw ḍa‘ifan aw lā yastaṭī‘u ’an y-yumilla huwa falyumlil waliyyuhū bil‘adl(i), wastashhidū shahīdayni mi r-rijālikum, fa’i l-lam yakūnā rajulayni farajulun w-wamra’atāni mimman tarḍawna mina sh-shuhadā’i an taḍilla ’iḥhumā fatudhakkira ’iḥhuma lukhrā, walā yaba sh-shuhadā’u idhā mā du‘ū, walā tas’amū ’an taktubūhu ṣaghīran aw kabīran ilā ajalih(ī), dhāliku ’aqsaṭu ‘inda l-lāhi wa’aqwamu lishshahādati wa’adnā ’allā tartābū, ’illā ’an takūna tijāratun ḥāḍiratun tudīrūnahā baynakum falaysa ‘alaykum junāḥun allā taktubūhā, wa’ashhidū ’idhā tabāy‘tum, walā yuḍārra kātibun walā shahīdun, wa’in taf‘alū fa’innahū fusūqun bikum, wattaqu l-lāh(a), wayu‘allimukumu l-lāh(u), wallāhu bikulli shay’in ‘alīm(un)

ความหมาย แก้

บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย! เมื่อพวกเจ้าต่างมีหนี้สินกันจะด้วยหนี้สินใด ๆ ก็ตาม จนกว่าจะถึงกำหนดเวลา (ใช้หนี้) ที่ถูกระบุไว้แล้ว ก็จงบันทึกหนี้สินนั้นเสีย และผู้เขียนก็จงบันทึกระหว่างพวกเจ้าด้วยความเที่ยงธรรม และผู้เขียนคนหนึ่งคนใดก็จงอย่าปฏิเสธที่จะบันทึก ดังที่อัลลอฮฺได้ทรงสอนเขา ดังนั้นเขาจงบันทึกเถิด และจงให้ผู้ที่มีสิทธิเหนือเขา (ลูกหนี้) บอกให้บันทึกและเขาจงยำเกรงอัลลอฮฺผู้เป็นพระเจ้าของเขา และจงอย่าให้บกพร่องแต่อย่างใดจากสิทธินั้น และถ้าผู้มีสิทธิเหนือเขา (ลูกหนี้) เป็นคนโง่ หรือเป็นผู้อ่อนแอหรือไม่สามารถจะบอกให้บันทึกได้ ก็จงให้ผู้ปกครองของเขาบอกด้วยความเที่ยงธรรม และพวกเจ้าจงให้มีพยานขึ้นสองนายจากบรรดาผู้ชายในหมู่พวกเจ้า แต่ถ้ามิปรากฏว่า พยานทั้งสองนั้นเป็นชายก็ให้มีผู้ชายหนึ่งกับผู้หญิงสองคน จากผู้ที่พวกเจ้าพึงใจในหมู่พยานทั้งหลาย เพื่อว่าหญิงใดในสองคนนั้นหลงไป คนหนึ่งในสองคนนั้นก็จะได้เตือนอีกคนหนึ่ง และบรรดาพยานนั้นก็จงอย่าได้ปฏิเสธ เมื่อพวกเขาถูกเรียกร้อง และพวกเจ้าจงอย่าเบื่อหน่ายที่จะบันทึกหนี้สินนั้นไม่ว่าน้อยหรือมากก็ตาม จนกว่าจะถึงกำหนดเวลาของมัน นั่นแหละคือสิ่งที่ยุติธรรมยิ่งกว่า ณ ที่อัลลอฮฺ และเที่ยงตรงยิ่งกว่าสำหรับเป็นหลักฐานยืนยัน และเป็นสิ่งใกล้ยิ่งกว่าที่พวกเจ้าจะไม่สงสัย นอกจากว่ามันเป็นสินค้าที่ปรากฏอยู่ต่อหน้า ซึ่งพวกเจ้าหมุนเวียนมัน (ซื้อขายแลกเปลี่ยน) ระหว่างพวกเจ้าก็ไม่มีโทษอันใดแก่พวกเจ้าที่พวกเจ้าจะไม่บันทึกมัน และพวกเจ้าจงให้มีพยานขึ้น เมื่อพวกเจ้าต่างซื้อขายกัน และผู้เขียนก็จงอย่าก่อให้เกิดความเดือดร้อนขึ้น และผู้เป็นพยานด้วย และหากว่าพวกเจ้ากระทำ แน่นอนมันก็เป็นการฝ่าฝืนเนื่องด้วยพวกเจ้า และพวกเจ้าจงพึงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด และอัลลอฮฺนั้นทรงให้ความรู้แก่พวกเจ้าอยู่ และอัลลอฮฺนั้นทรงรอบรู้ในทุกสิ่งทุกอย่าง

อรรถกถา แก้

แนวคิดบางส่วนในโองการนี้ มีดังนี้:[4]

  • เมื่อใดก็ตามที่มีการธุรกรรมกู้ยืมในเวลาจำเพาะ ต้องเขียนบันทึกธุรกรรมลงไป
  • ทั้งผู้ให้กู้กับผู้กู้ต้องเชื่อมั่นคนเขียน
  • ต้องมีพยานสองคน เมื่อมีการเซ็นเอกสารโดยผู้ให้ยืมกับเจ้าหนี้ พยานต้องเป็นชายสองคน หรือชายหนึ่งและหญิงสองคน
  • ต้องมีการยืนยันความปลอดภัยจากผู้เขียนและมีการยินยอมที่จะรบกวนเขาจากระบบความยุติธรรม
  • ความยาวของสัญญาจะต้องเขียนให้ชัดแจ้ง

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Shahrudi, Seyyed Mahmud. Fiqh dictionary (Persian). Encyclopaedia Institute of Islamic Fiqh. p. 192.
  2. Khurram Murad (15 February 2014). Key to al-Baqarah: The Longest Surah of the Qur'an. Kube Publishing Limited. pp. 25–. ISBN 978-0-86037-532-6.
  3. Samii, Bahram. An Introduction to the Glorious Quran.
  4. Amīn Aḥsan Iṣlāḥī (2007). Tafsir of Surah al-Fātihan and Surah al-Baqarah. The Other Press. ISBN 978-983-9154-88-7.