อัษฏธาตุ
อัษฏธาตุ (อักษรโรมัน: Ashtadhatu, แปลว่า เหล็กแปดประการ) เป็นโลหะอัลลอยที่นิยมใช้หล่อเทวรูปโลหะในเทวาลัยของศาสนาฮินดูและไชนะ ของอินเดีย[1][2][3] องค์ประกอบของอัษฏธาตุมีระบุไว้ใน ศิลปศาสตร์ ซึ่งเป็นคัมภีร์โบราณที่บรรยายมาตรฐาน หลักการ และข้อกำหนดในการออกแบบงานศิลปะ งานหัตถกรรม และงานออกแบบอื่น อัษฏธาตุถือว่าเป็นสิ่งบริสุทธิ์สูงสุดหรือสัตตวในศาสนาฮินดูที่จะไม่สลายไป[4]
องค์ประกอบโดยธรรมเนียมของอัษฏธาตุประกอบด้วยทองคำ, เงิน, ทองแดง, ตะกั่ว, ซิงก์, ดีบุก, เหล็ก และ ปรอท[5][6][7] ในปริมาณเท่ากัน
เทวรูปหลายองค์เชื่อว่าหล่อมาจากอัษฏธาตุ แม้จะไม่ทราบว่าหล่อมาจากอะไร เทวรูปอัษฏธาตุบริสุทธิ์หาได้ยากและหลายครั้งถูกจารกรรมไป[8]
อ้างอิง
แก้- ↑ 9 stolen 'ashtadhatu' idols recovered in Siwan, Muzaffarpur, Debashish Karmakar. The Times of India. Jul 10, 2016.
- ↑ Three held for stealing idols from Jain temples, Leena Dhankhar, Gurgaon, Hindustan Times, Jan 20, 2016
- ↑ भगवान के दर पर चोरों का धावा, जैन मंदिर से चुराई 7 अष्टधातु की मूर्तियां เก็บถาวร 2016-11-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (in Hindi). Patrika news network. 2016-10-25.
- ↑ Idols by Material[1][2]. hinduofuniverse.com.
- ↑ "The Eight Metals"
- ↑ Social, Cultural, and Economic History of Himachal Pradesh. Manjit Singh Ahluwalia. Indus Publishing. 1998 p. 163.
- ↑ स्वर्ण रूप्यं ताम्रं च रंग यशदमेव च। शीसं लौहं रसश्चेति धातवोऽष्टौ प्रकीर्तिता:। Here rasa can be taken as either mercury or brass
- ↑ Ashtadhatu Idols Theft[3][4][5][6][7] เก็บถาวร 2022-10-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[8] เก็บถาวร 2021-10-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[9][10][11][12][13]