สัจนิยมสังคมนิยม
สัจนิยมสังคมนิยม (อังกฤษ: Socialist realism) เป็นรูปแบบของศิลปะแนวสัจนิยมที่พัฒนาขึ้นในสหภาพโซเวียตและถูกกำหนดเป็นรูปแบบทางการในประเทศนั้นระหว่าง ค.ศ. 1932 และ 1988 เช่นเดียวกับในประเทศสังคมนิยมอื่น ๆ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง[1] สัจนิยมสังคมนิยมเป็นลักษณะของภาพคอมมิวนิสต์อันน่าสรรเสริญเช่นการปลดปล่อยชนชั้นกรรมาชีพโดยอาศัยภาพจริง[2] แม้ว่าจะเกี่ยวข้องกัน แต่จะสับสนกับแนวสัจนิยมสังคม ประเภทของศิลปะที่แสดงถึงเรื่องความห่วงใยทางสังคมอย่างสมจริง[3]
สัจนิยมสังคมนิยมเป็นรูปแบบเด่นของศิลปะที่ได้รับอนุมัติในสหภาพโซเวียตตั้งแต่การพัฒนาในต้น ค.ศ. 1920 ก่อนที่จะถูกลดตำแหน่งอย่างเป็นทางการในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 จนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1991[4][5] ในขณะที่ประเทศอื่น ๆ มีการใช้หลักการที่กำหนดไว้ในศิลปะ แต่สัจนิยมสังคมนิยมในสหภาพโซเวียตก็ยังคงมีอยู่ต่อไปและเข้มงวดกว่าที่อื่น ๆ ในยุโรป[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ Encyclopedia Britannica on-line definition of Socialit Realism
- ↑ Korin, Pavel, "Thoughts on Art", Socialist Realism in Literature and Art. Progress Publishers, Moscow, 1971, p. 95.
- ↑ Todd, James G. "Social Realism". Art Terms. Museum of Modern Art, 2009.
- ↑ Encyclopedia Britannica on-line definition of Socialist Realism
- ↑ Ellis, Andrew. Socialist Realisms: Soviet Painting 1920–1970. Skira Editore S.p.A., 2012, p. 20
- ↑ Valkenier, Elizabeth. Russian Realist Art. Ardis, 1977, p. 3.