ศุกร์ทมิฬ (เปอร์เซีย: جمعه سیاه, อักษรโรมัน: Jom'e-ye Siyāh, Black Friday) เป็นชื่อของเหตุการณ์ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) (17 แชฮ์รีแวร์ 1357 ตามปฏิทินของอิหร่าน) ในประเทศอิหร่าน[9] ซึ่งประชาชน 64 คนหรือไม่น้อยกว่าร้อย[10][11] ถูกฆ่าและถูกสังหารอย่างโหดร้ายทารุณและมีผู้บาดเจ็บกว่า 205 คนโดยทหารของกองทัพรัฐบาลอิหร่าน (Imperial Iranian Army) ในจัตุรัสจาเลห์ (เปอร์เซีย: میدان ژاله, อักษรโรมัน: Meydān-e Jāleh) ในกรุงเตหะราน[12][13][14] ซึ่งตามข้อมูลนักประวัติศาสตร์ทางทหารสเปนเซอร์ ซี. ทักเกอร์ซึ่งมีกล่าวว่าประชาชน 64 คนถูกสังหารอย่างโหดเหี้ยมซึ่งมีผู้ประท้วง 64 คนและเจ้าหน้าความมั่นคง 30 คนถูกสังหารเช่นกันการเสียชีวิตของประชาชนถูกอธิบายว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญของการปฏิวัติอิสลามที่ยุติความหวังและการประนีประนอมใดๆ ทั้งสิ้นของระบอบการปกครองของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี[15]

ศุกร์ทมิฬ
เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติอิสลาม
สถานที่เตหะราน ประเทศอิหร่าน
วันที่8 กันยายน ค.ศ. 1978 (GMT+3.30)
ตาย64 คน [1]
หรือ 94 คน (เจ้าหน้าที่ความมั่นคง 30 คน และผู้ประท้วง 64 คน)[2]
หรือไมเกินละร้อยคน (88 คน[3][4][5][6][7][8])
เจ็บ205 คน[7]
ผู้ก่อเหตุกองทัพจักรพรรดิอิหร่าน
โกลอมแอลี โอเวย์ซี
ผู้ว่าราชการในเตหะราน

แหล่งอ้างอิง แก้

  1. Foltz, Richard (2016). Iran in World History. Oxford University Press. p. 108.
  2. Tucker, Spencer C. (2017). The Roots and Consequences of Civil Wars and Revolutions: Conflicts that Changed World History. ABC-CLIO. p. 439.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Baghi
  4. Shakman Hurd, Elizabeth (2009). The Politics of Secularism in International Relations (ภาษาอังกฤษ). Princeton University Press. ISBN 978-1400828012.
  5. Berg-Sørensen, Anders (2016). Contesting Secularism: Comparative Perspectives (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 9781317160243.
  6. Thiessen, Mark (2008). An Island of Stability: The Islamic Revolution of Iran and the Dutch Opinion (ภาษาอังกฤษ). Sidestone Press. ISBN 9789088900198.
  7. 7.0 7.1 "Emad Baghi :: English". emadbaghi.com. สืบค้นเมื่อ 2018-09-08.
  8. Andrew Scott Cooper,The Fall of Heaven: The Pahlavis and the Final Days of Imperial Iran Hardcover – 19 July 2016 ISBN 0805098976
  9. Ervand Abrahamian (1983). Iran between two revolutions. Internet Archive. Princeton University Press. ISBN 978-0-691-10134-7.
  10. https://www.brookings.edu/blog/order-from-chaos/2019/01/24/the-iranian-revolution-a-timeline-of-events/
  11. "Timeline of the Iranian revolution". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-02-11. สืบค้นเมื่อ 2022-08-09.
  12. Bashiriyeh, Hossein (2012-04-27). The State and Revolution in Iran (RLE Iran D) (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. ISBN 978-1-136-82089-2.
  13. Fischer, Michael M. J. (2003-07-15). Iran: From Religious Dispute to Revolution (ภาษาอังกฤษ). Univ of Wisconsin Press. ISBN 978-0-299-18473-5.
  14. NEWS, TOJO. "8 กันยายน 2521 วันศุกร์ทมิฬของอิหร่าน เมื่อผู้ชุมนุมประท้วงถูกกราดยิงโดยทหารของกองทัพ | TOJO NEWS". LINE TODAY.
  15. Abrahamian, Ervand, History of Modern Iran, Cambridge University Press, 2008, p. 160–1