วิบาก
ส่วนหนึ่งของ | |
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมาย | |
นิพพาน | |
พระรัตนตรัย | |
หลักปฏิบัติ | |
ศีล · สมาธิ · ปัญญา สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์ | |
คัมภีร์ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก | |
หลักธรรม | |
ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 | |
นิกาย | |
เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน | |
สังคม | |
ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน | |
การจาริกแสวงบุญ | |
สังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ | |
ดูเพิ่มเติม | |
คำศัพท์ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ |
วิบาก แปลว่า ผล, ผลผลิต, ผลที่เกิดขึ้น, ผลที่ติดตามมาจากเหตุ
วิบาก ในคำวัดหมายถึงผลกรรม, ผลที่เกิดจากกรรมที่ทำไว้ก่อน ไม่ว่าจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว ล้วนมีวิบากคือผลทั้งสิ้น โดยกรรมดีมีวิบากเป็นสุข กรรมชั่วมีวิบากเป็นทุกข์ ใช้ซ้ำกันเป็น ผลวิบาก หรือ วิบากผล ก็มี
วิบาก โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าหมายถึงผลทางชั่วคือทุกข์อย่างเดียว ส่วนวิบากทางดีไม่นิยมใช้พูดกัน เช่นพูดว่า
"วิบากกรรมตามทันแล้ว จึงทำให้เขาตกยากลงอย่างทันตา"
"กรรมวิบากเป็นเหตุให้ต้องตกนรก"
วิบาก ในคำไทยใช้หมายความว่าลำบาก, ทุรกันดาร เช่น หนทางวิบาก, ประสบความวิบาก
อ้างอิงแก้ไข
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548