บริษัทวายจีพลัส (เดิมชื่อบริษัทฟินิกซ์โฮลดิงส์) เป็นบริษัทสื่อและโฆษณาที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าซื้อกิจการในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2014 บริษัทได้เข้าสู่อุตสาหกรรมจัดจำหน่ายเพลง และยังมีส่วนร่วมในการผลิต การจัดจำหน่าย และใบอนุญาตของสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเพลงของศิลปิน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2021 ไฮบ์คอร์ปอเรชันและวีเวิร์สคอมพานี บริษัทในเครือด้านเทคโนโลยี เข้าซื้อกิจการ 17.9% ของบริษัทในการขายสินค้าและการจัดจำหน่าย ข้อตกลงคือให้ศิลปินของวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าร่วมวีเวิร์สเป็นการตอบแทน

บริษัทวายจีพลัส
ชื่อท้องถิ่น
YG 플러스
ชื่อเดิมบริษัทฟินิกซ์โฮลดิงส์
ประเภทมหาชน
การซื้อขาย
KRX: 037270
อุตสาหกรรม
ก่อตั้ง15 พฤศจิกายน 1996; 27 ปีก่อน (1996-11-15)
สำนักงานใหญ่
07326 10, คุกแจกึมย็อง, ย็องดึงโพ, โซล
,
เกาหลีใต้
บุคลากรหลัก
ชเว ซ็อง-จุน (CEO)
ยัง มิน-ซ็อก (ประธานคณะกรรมการบริษัท)
ผลิตภัณฑ์
รายได้
  • เพิ่มขึ้น 1.4 ล้านล้าน (US$1.23 พันล้าน) (2022)
  • 1.2 ล้านล้าน (US$1.05 พันล้าน) (2021)
รายได้จากการดำเนินงาน
  • เพิ่มขึ้น 220 พันล้าน (US$192.32 ล้าน) (2022)
  • 103 พันล้าน (US$90.04 ล้าน) (2021)
รายได้สุทธิ
  • ลดลง 167 พันล้าน (US$145.99 ล้าน) (2022)
  • 226 พันล้าน (US$197.56 ล้าน) (2021)
สินทรัพย์
  • เพิ่มขึ้น 2.41 ล้านล้าน (US$2.11 พันล้าน) (2022)
  • 2.23 ล้านล้าน (US$1.95 พันล้าน) (2021)
เจ้าของ
บริษัทแม่วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์
บริษัทในเครือดู รายชื่อ
เว็บไซต์ygplus.com
เชิงอรรถ / อ้างอิง
[1][2][3]

ประวัติ แก้

วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าซื้อกิจการฟินิกซ์โฮลดิงส์ ซึ่งเป็นบริษัทประชาสัมพันธ์จาก Bongwan Group ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2014 และเปลี่ยนชื่อเป็นวายจีพลัส[4][5] ยัง มิน-ซ็อก น้องชายของยัง ฮย็อน-ซ็อก ผู้ก่อตั้งวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น CEO ของบริษัท โดยวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ถือหุ้น 38.6% ของบริษัท[6] ในปี ค.ศ. 2019 บริษัทได้เข้าสู่อุตสาหกรรมการจัดจำหน่ายเพลง ต่อมาวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2021 มีการเปิดเผยว่าไฮบ์คอร์ปอเรชันและวีเวิร์สคอมพานี บริษัทในเครือด้านเทคโนโลยี (เดิมคือ beNX) ลงทุน 70 พันล้านวอน (ประมาณ 63 ล้านเหรียญสหรัฐ) ในบริษัท[7] เข้าซื้อกิจการ 17.9% ของบริษัทในการขายสินค้าและการจัดจำหน่าย ข้อตกลงคือให้ศิลปินของวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าร่วมวีเวิร์สเป็นการตอบแทน[8] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2021 ชเว ซ็อง-จุนได้รับการแต่งตั้งให้เป็นซีอีโอคนใหม่ ในขณะที่ยัง มิน-ซ็อกได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการบริหารของบริษัท[9]

จำหน่ายให้ค่ายที่มีชื่อเสียง แก้

ปัจจุบัน แก้

เกาหลีใต้ (ณ ปี ค.ศ. 2021)

อดีต แก้

บริษัทย่อย แก้

  • YG KPLUS
  • Moonshot
  • Nona9on
  • YG Sports
  • YG Studioplex

อ้างอิง แก้

  1. "YG PLUS - Company Profile and News - Bloomberg Markets". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.
  2. "Financials - YG PLUS". YG Plus. สืบค้นเมื่อ November 2, 2023.
  3. "YG Plus Ownership Structure". YG Plus.
  4. Cha, Jun-ho (July 29, 2021). "Lessons learned from Blackpink label's M&A flops". Korea Economic Daily. สืบค้นเมื่อ August 17, 2021.
  5. Yoo, Yoon-Jeong. "보광, 실적 악화일로…홍석규 회장, 계열사 지분 잇따라 처분". Chosun Biz (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Naver.
  6. "Min-Suk Yang, YG Entertainment Inc: Profile and Biography". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.
  7. Hwang, Hye-jin (January 27, 2021). "빅히트 측 "YG에 700억 규모 투자 단행, 음반음원 유통 사업 협업"(공식)". Newsen (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 16, 2021. สืบค้นเมื่อ April 9, 2021.
  8. Alexei Barrionuevo (January 28, 2021). "BTS' Label Big Hit Entertainment Buys Stake in K-Pop Rival YG Entertainment". Microsoft News (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 9, 2021. สืบค้นเมื่อ June 9, 2021.
  9. "Sung-Jun Choi, YG Plus: Profile and Biography - Bloomberg Markets". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.