รายชื่อไมโครโพรเซสเซอร์ของเอเอ็มดี

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

บทความนี้กล่าวถึงรายชื่อของไมโครโปรเซสเซอร์จาก แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์ โดยเรียงตามรุ่นและปีที่วางจำหน่าย ถ้ามีการรู้จักอย่างทั่วถึงในชื่ออื่น ๆ ก็จะระบุไว้ในวงเล็บ

สถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเอเอ็มดี แก้

Am2900 series (1975) แก้

29000 (29K) (1987–95) แก้

สถาปัตยกรรมที่ไม่ใช่ x86 แก้

รุ่นที่ 2 ปี (1974) แก้

Am9080

รุ่นที่ 2 ปี (1982) แก้

Am29X305 (รุ่นที่สองสำหรับ Signetics 8X305 หน่วยตัวควบคุมแบบ 8 บิท)

โปรเซสเซอร์ที่ใช้สถาปัตยกรรมแบบ x86 แก้

รุ่นที่ 2 ระหว่างปี (1979–91) แก้

(โปรเซสเซอร์ x86 รุ่นที่ 2 ภายใต้สัญญาที่ทำไว้กับอินเทล)

  • 8086
  • 8088
  • Am286 (รุ่นที่ 2 ที่มีพื้นฐานมาจาก 80286)

Am*ซี่รีย์ X86 ปี (1991–95) แก้

  • Am386 (1991)
  • Am486 (1993)
  • Am5x86 (ซีพียูนี้มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเพนเทียมหรือรุ่นสูงกว่าที่ใช้เมนฃบอร์ดแบบ 486) จำหน่ายเมื่อปี (1995)

สถาปัตยกรรม K5 ปี (1995) แก้

สถาปัตยกรรม K6 ระหว่างปี (1997–2001) แก้

สถาปัตยกรรม K7 ระหว่างปี (1999–2005) แก้

สถาปัตยกรรม K8 แก้

ซี่รีย์ K8 ตั้งแต่ (2003 ถึง ปัจจุบัน) Families: ออพเทอรอน, แอททอล์น 64, เซมพรอน, ทูเรี่ยน 64, แอททอล์น 64 X2, ทูเรี่ยน 64 X2

สถาปัตยกรรม K10 แก้

ซีพียูซีรีส์ K10 ตั้งแต่ปี (2007 ถึง ปัจจุบัน)

สถาปัตยกรรมเอพียูบน K10 ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)

สถาปัตยกรรม บูลโดเซอร์ แก้

บูลโดเซอร์ ซีรีส์ ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)

สถาปัตยกรรม บ๊อบแคท แก้

APUs ซีรีส์ บ๊อบแคท ตั้งแต่ปี (2011 ถึง ปัจจุบัน)

ดูเพิ่ม แก้

ผู้แข่งขันอื่นในตลาดโปรเซสเซอร์ X86 :

External links แก้

References แก้

  1. "AMD's Phenom Unveiled: A Somber Farewell to K8". AnandTech. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.
  2. "Thrice the fun? A review of the triple-core AMD Phenom X3". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.
  3. "Does AMD's Athlon 64 X2 6000+ Have Any Kick Left? : AMD Athlon 64 X2 6000+ Kicks Off To Challenge Core 2". Tom's Hardware. สืบค้นเมื่อ 2008-08-29.