ยุทธการที่สแตมฟอร์ดบริดจ์

ยุทธการที่สแตมฟอร์ดบริดจ์ (อังกฤษเก่า: Gefeoht æt Stanfordbrycge) เกิดขึ้นที่หมู่บ้านสแตมฟอร์ดบริดจ์, อีสต์ไรดิ้งออฟยอร์กเชอร์ ในอังกฤษเมื่อวันที่ 25 กันยายน 1066 ระหว่างกองทัพอังกฤษภายใต้พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน และกองกำลังรุกรานที่นำโดยพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 3 แห่งนอร์เวย์ และทอสติก กอดวินสัน น้องชายของกษัตริย์อังกฤษ หลังจากการต่อสู้นองเลือด ทั้งฮาโรลด์และทอสติกพร้อมกับทหารชาวนอร์เวย์ส่วนใหญ่ถูกสังหาร แม้ว่าแฮโรลด์ กอดวินสันสามารถขับไล่ผู้รุกรานชาวนอร์เวย์ แต่กองทัพของเขาก็พ่ายแพ้ต่อชาวนอร์มันที่เฮสติงส์น้อยกว่าสามสัปดาห์ต่อมา ยุทธการครั้งนี้เป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดของยุคไวกิ้งตามธรรมเนียม

ยุทธการที่สแตมฟอร์ดบริดจ์
ส่วนหนึ่งของ การรุกรานของชาวไวกิ้งของอังกฤษ
วันที่25 กันยายน 1066
สถานที่
ผล ชัยชนะที่เด็ดขาดของอังกฤษ
คู่สงคราม
ราชอาณาจักรอังกฤษ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
  • 10,500 ทหารราบ
  • 2,000 ทหารม้า
  • 9,000 (ซึ่ง 3,000 คนเข้าร่วมในการรบล่าช้า)
  • 300 เรือขนส่ง
ความสูญเสีย
ไม่ทราบ 8,000+ ตายหรือหาย[1][2]

อ้างอิง แก้

  1. Anglo-Saxon Chronicles, p. 199.
  2. While the initial invasion force required 300 longships to carry 10,000 troops (Jones, Charles (2011). Finding Fulford. London: WritersPrintShop. pp. 202-203), only 24 ships, or 8% of the fleet, were needed to carry back the survivors after Stamford Bridge ("Anglo-Saxon Chronicles", p. 199).