ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 2023
การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2023 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 19 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี (นับรวมครั้งที่ผ่านมาของฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี และ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี), เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี ของทวีปเอเชีย. ครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2006 ที่เล่นเป็นทัวร์นาเมนต์รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี เนื่องจากเอเอฟซีเสนอให้เปลี่ยนการแข่งขันจากรุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นรุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2023.[1] นอกจากนี้, ทัวร์นาเมนต์ยังเปลี่ยนชื่อจาก "เอเอฟซี ยู-16 แชมเปียนชิป" เป็น "เอเอฟซี ยู-17 เอเชียน คัพ".[2]
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 2023 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
วันที่ | 15 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 4 (ใน 3 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ญี่ปุ่น (สมัยที่ 4th) |
รองชนะเลิศ | เกาหลีใต้ |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 31 |
จำนวนประตู | 99 (3.19 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Gaku Nawata (คนละ 5 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | Gaku Nawata |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | Wataru Goto |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ญี่ปุ่น |
เมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2021, เอเอฟซีประกาศว่าบาห์เรนจะรักษาสิทธิ์ในการเป็นเจ้าภาพสำหรับรุ่นปี 2023 หลังจากการยกเลิกของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2020 เนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19.[3][4] อย่างไรก็ตาม, บาห์เรนตัดสินใจถอนสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 2022, ทำให้ต้องเลือกเจ้าภาพใหม่อีกครั้งในภายหลัง.[5] เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 2022, ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโดยคณะกรรมการบริหารเอเอฟซี.[6]
ทั้งหมด 16 ทีมที่จะได้ลงเล่นในรายการนี้. สี่ทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้ผ่านเข้าสู่ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2023 ใน ประเทศอินโดนีเซีย ในฐานะตัวแทน เอเอฟซี นอกเหนือไปจาก [ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียรุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี|อินโดนีเซีย]] ซึ่งผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพทีมใหม่.
รอบคัดเลือก
แก้แมตช์รอบคัดเลือกได้ลงเล่นระหว่างวันที่ 1–9 ตุลาคม พ.ศ. 2565.[7]
ทีมที่เข้ารอบ
แก้ด้านล่างนี่คือ 16 ทีมที่ได้ผ่านเข้าไปเล่นสำหรับรอบสุดท้าย. บาห์เรน, อินโดนีเซีย, โอมาน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เกาหลีเหนือ (หลังไม่ได้เข้าสู่รอบคัดเลือก) ทั้งหมดพลาดในฉบับนี้หลังจากผ่านการคัดเลือกในครั้งก่อนหน้านี้. นอกจากนี้, อัฟกานิสถาน, ลาว, มาเลเซีย, ไทย และ เวียดนาม เข้ารอบทั้งหมดสำหรับครั้งนี้หลังจากตอนแรกพลาดไป.
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | จำนวนครั้งที่เข้าร่วม | ผลงานครั้งที่ผ่านมาที่ดีที่สุด |
---|---|---|---|
ญี่ปุ่น | กลุ่ม เอ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 16 | แชมเปียนส์ (1994, 2006, 2018) |
มาเลเซีย | กลุ่ม บี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 6 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2014) |
กาตาร์ | กลุ่ม ซี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 11 | แชมเปียนส์ (1990) |
ซาอุดีอาระเบีย | กลุ่ม ดี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 11 | แชมเปียนส์ (1985, 1988) |
เยเมน | กลุ่ม อี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 6 | รองชนะเลิศ (2002) |
เวียดนาม | กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 8 | อันดับที่ 4 (2000) |
ออสเตรเลีย | กลุ่ม จี ชนะเลิศ | ครั้งที่ 7 | รอบรองชนะเลิศ (2010, 2014, 2018) |
ทาจิกิสถาน | กลุ่ม เอช ชนะเลิศ | ครั้งที่ 4 | รองชนะเลิศ (2018) |
อิหร่าน | กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 12 | แชมเปียนส์ (2008) |
อุซเบกิสถาน | กลุ่ม เจ ชนะเลิศ | ครั้งที่ 10 | แชมเปียนส์ (2012) |
เกาหลีใต้ | รองชนะเลิศที่ดีที่สุด | ครั้งที่ 15 | แชมเปียนส์ (1986, 2002) |
จีน | อันดับที่ 2 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด | ครั้งที่ 15 | แชมเปียนส์ (1992, 2004) |
อัฟกานิสถาน | อันดับที่ 3 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด | ครั้งที่ 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2018) |
อินเดีย | อันดับที่ 4 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด | ครั้งที่ 9 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2002, 2018) |
ไทย | อันดับที่ 5 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด และเป็นเจ้าภาพ | ครั้งที่ 12 | แชมเปียนส์ (1998) |
ลาว | อันดับที่ 6 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด | ครั้งที่ 3 | รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2012) |
สนามแข่งขัน
แก้แต่ละนัดจะลงเล่นในสี่สนามแข่งขันในสามเมือง/จังหวัด.
กรุงเทพมหานคร | ปทุมธานี | |
---|---|---|
ราชมังคลากีฬาสถาน | ปทุมธานีสเตเดียม | |
ความจุ: 51,552 | ความจุ: 10,114 | |
ปทุมธานี | ชลบุรี | |
สนามกีฬาธรรมศาสตร์ | ชลบุรีสเตเดียม | |
ความจุ: 25,000 | ความจุ: 8,680 | |
การจับสลาก
แก้16 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม, กับทีมที่เป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2018 ทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้ายและ รอบคัดเลือก, กับเจ้าภาพ ประเทศไทย เป็นทีมวางอัตโนมัติ และถูกกำหนดให้อยู่ในตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก. การจับสลากได้จัดขึ้นและโปรแกรมการแข่งขันได้รับการยืนยันเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566 ใน กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.[8]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้ชนะเลิศของรองชนะเลิศของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.
เวลาแมตช์ทั้งหมดคือในเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).
กลุ่ม เอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 1 | +5 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เยเมน | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 2 | +4 | 6 | |
3 | มาเลเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 8 | −6 | 3 | |
4 | ลาว | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 6 | −3 | 0 |
เยเมน | 4–0 | มาเลเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
ไทย | 2–1 | ลาว |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่ม บี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิหร่าน | 3 | 2 | 1 | 0 | 8 | 1 | +7 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เกาหลีใต้ | 3 | 2 | 0 | 1 | 10 | 3 | +7 | 6 | |
3 | อัฟกานิสถาน | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 11 | −8 | 3 | |
4 | กาตาร์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 8 | −6 | 1 |
เกาหลีใต้ | 6–1 | กาตาร์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อิหร่าน | 6–1 | อัฟกานิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อัฟกานิสถาน | 0–4 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
รายงาน |
|
อัฟกานิสถาน | 2–1 | กาตาร์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
กลุ่ม ซี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 3 | 0 | 0 | 7 | 0 | +7 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 5 | +2 | 6 | |
3 | ทาจิกิสถาน | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 5 | −4 | 1 | |
4 | จีน | 3 | 0 | 1 | 2 | 4 | 9 | −5 | 1 |
ออสเตรเลีย | 0–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
ทาจิกิสถาน | 1–1 | จีน |
---|---|---|
Gafurov 36' | รายงาน | Wang Yudong 6' |
จีน | 3–5 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ซาอุดีอาระเบีย | 2–0 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
ทาจิกิสถาน | 0–2 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
ซาอุดีอาระเบีย | 3–0 | จีน |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่ม ดี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 2 | 1 | 0 | 13 | 5 | +8 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | อุซเบกิสถาน | 3 | 2 | 1 | 0 | 3 | 1 | +2 | 7 | |
3 | อินเดีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 5 | 10 | −5 | 1 | |
4 | เวียดนาม | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 6 | −5 | 1 |
ญี่ปุ่น | 1–1 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อินเดีย | 1–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อุซเบกิสถาน | 1–0 | อินเดีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
เวียดนาม | 0–1 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
|
รอบแพ้คัดออก
แก้โปรแกรมการแข่งขันสำหรับรอบแพ้คัดออกได้ถูกปล่อยออกมาในปี ค.ศ. 2023. 4 ทีมที่ดีที่สุดในรอบแพ้คัดออกจะได้ผ่านเข้าไปสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2023 ในฐานะตัวแทนจากเอเอฟซี.
สายการแข่งขัน
แก้รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
25 มิถุนายน – ปทุมธานี | ||||||||||
ไทย | 1 | |||||||||
29 มิถุนายน – ปทุมธานี | ||||||||||
เกาหลีใต้ | 4 | |||||||||
เกาหลีใต้ | 1 | |||||||||
26 มิถุนายน – ธรรมศาสตร์ | ||||||||||
อุซเบกิสถาน | 0 | |||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 0 | |||||||||
2 กรกฎาคม – ปทุมธานี | ||||||||||
อุซเบกิสถาน | 2 | |||||||||
เกาหลีใต้ | 0 | |||||||||
25 มิถุนายน – ธรรมศาสตร์ | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 3 | |||||||||
อิหร่าน (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||
29 มิถุนายน – ธรรมศาสตร์ | ||||||||||
เยเมน | 0 (2) | |||||||||
อิหร่าน | 0 | |||||||||
26 มิถุนายน – ปทุมธานี | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 3 | |||||||||
ญี่ปุ่น | 3 | |||||||||
ออสเตรเลีย | 1 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
แก้ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าไปสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 2023.
ไทย | 1–4 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ญี่ปุ่น | 3–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
ซาอุดีอาระเบีย | 0–2 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
|
รอบรองชนะเลิศ
แก้เกาหลีใต้ | 1–0 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้หมายเหตุ
แก้- ↑ "AFC Competitions Committee recommends changes to youth competitions". AFC. 26 November 2018.
- ↑ "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 October 2020.
- ↑ "Latest update on AFC Competitions in 2021". AFC. 25 January 2021.
- ↑ "Latest update on AFC Competitions in 2021". the-afc.com. Asian Football Confederation. 25 January 2021.
- ↑ "Bahrain withdraws from hosting 2023 AFC U-17 Cup". Bahrain News Agency. 17 June 2022.
- ↑ "Thailand recommended as host of the AFC U17 Asian Cup 2023". the-afc.com. AFC. 23 December 2022. สืบค้นเมื่อ 24 December 2022.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2022". AFC. 24 February 2021.
- ↑ "#AFCU17 Thailand 2023 Groups Finalised". Asian Football Confederation. 30 March 2023.