อักษรยางาอิมแล

(เปลี่ยนทางจาก อักษรยาญาอิมลา)

อักษรยางาอิมแล (Yaña imlâ : ออกเสียง [jʌˈŋɑ imˈlʲæ]; อักษรซีริลลิก: яңа имля; ภาษาตาตาร์ หมายถึงการเขียนใหม่) เป็นรูปแบบดัดแปลงของอักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาตาตาร์ระหว่าง พ.ศ. 2463 - 2470 โดยเปลี่ยนรูปแบบมาจากอักษรอิสเกอิมแล โดยเลิกใช้อักษรอาหรับที่เพิ่มมา เพิ่มอักษรสำหรับสระเสียงสั้น e, ı, ö, o โดยมีวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับการออกเสียงภาษาตาตาร์

หน้าปกของหนังสือที่ใช้อักษายางาอิมลา พิมพ์ด้วยอักษรอาหรับแบบแยกใน พ.ศ. 2467

มีความพยายามที่จะทำให้อักษรยาญงาอิมแลง่ายขึ้นเช่นกัน เช่น การใช้อักษรอาหรับแบบแยก ซึ่งพบในธงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตปกครองตนเองตาตาร์ (ภาษาตาตาร์: Татарстан Автономияле Совет Социалистик Республикасы.; Татарстан АССР) ยุคแรก แต่ยังไม่ได้นำมาใช้จริง การนำอักษรลาตินมาใช้เขียนภาษาตาตาร์เริ่มใน พ.ศ. 2467 และได้ประกาศใช้ใน พ.ศ. 2472

Zamanälif ต้น กลาง ท้าย เดี่ยว อักษรละติน อักษรซิริลลิกแบบใหม่ หมายเหตุ
1 a a а
2 ä ﻪﺋ ﻪﺋ ə ә
3 b ʙ б
4 t t т
5 p p п
6 c ç җ
7 ç c ч
8 x x х
9 d d д
10 r r р
11 z z з
12 j ƶ ж
13 s s с
14 ş ş ш
15 ğ ƣ г(ъ) alternative Cyrillic transcription: ғ
16 f f ф
17 q q к(ъ) alternative Cyrillic transcription: қ
18 k k к
19 g g г
20 ñ ң Initial form was never used due phonetic reasons
21 l l л
22 m m м
23 n n н
24 w v в alternative Cyrillic transcription: ў
25 i, í, y ﻴﺋ ﻴﺋ i, ьj, j и, ый, й ﻴﺋ, – for í, ﻴﺋ – for i,
26 u, ü u, y у, ү , – for u, – for ü
27 o, ö o, ɵ о, ө , – for o, – for ö
28 ı, e ئ ь, e ы, е ﺋ, – for ı, ﺋ – for e
29 h h һ