ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอมมอนลอว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
Adrich (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มชื่อเรียกภาษาไทย
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Map of the Legal systems of the world (en).png|thumb|350px|ระบบกฎหมายทั่วโลก]]
 
'''ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์''' ({{lang-en|Common law}}) หรือเรียกอีกอย่างว่า '''''ระบบกฎหมายจารีตประเพณี'''''<ref>{{Cite web|last=ศูนย์วิเทศอาเซียน|first=สำนักงานศาลยุติธรรม|title=ภาพรวมระบบกฎหมายของแต่ละประเทศในอาเซียน|url=https://acc.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid/9251/iid/160260|url-status=live|website=acc.coj.go.th|language=th}}</ref> เป็นกฎหมายซึ่งพัฒนาขึ้นโดยผู้พิพากษาผ่านทางการตัดสินคดีความของศาล และศาลชำนัญพิเศษอื่น ๆ มากกว่าผ่านทางพระราชบัญญัติของฝ่ายนิติบัญญัติ หรือการดำเนินการของฝ่ายบริหาร.<ref name="GarnerUsageDef0">{{cite book | title = A Dictionary of Modern Legal Usage | last = Garner | first= Bryan A. | origyear = 1995| year = 2001 | publisher = [[Oxford University Press]] | location = New York | edition = 2nd, revised | ref = harv|p=177|quote =In modern usage, ''common law'' is contrasted with a number of other terms. First, in denoting the body of judge-made law based on that developed in England… [P]erhaps most commonly within Anglo-American jurisdictions, ''common law'' is contrasted with ''statutory law'' ... }}</ref><ref name="Blacks10thDef1">{{cite book|title=Black's Law Dictionary – Common law|date=2014|edition=10th|p=334|quote=1. The body of law derived from judicial decisions, rather than from statutes or constitutions; [synonym] CASE LAW [contrast to] STATUTORY LAW.}} </ref> ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์เป็นระบบกฎหมายที่ทรงอิทธิพลมากระบบหนึ่งของโลก ทั้งนี้เนื่องจากการขยายตัวของ[[จักรวรรดิบริเตน]] ในระหว่างศตวรรษที่ 18 และ 19 ทำให้[[กฎหมายสหราชอาณาจักร|กฎหมายของสหราชอาณาจักร]] โดยเฉพาะ[[กฎหมายอังกฤษ]] แพร่กระจายไปทั่วดินแดนอาณานิคม. ปัจจุบันมีประมาณการว่า ประชากรกว่า 1 ใน 3 ของโลกอยู่ภายใต้ระบบกฎหมายคอมม่อนลอว์ หรือภายใต้ระบบกฎหมายผสมกับระบบ[[ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)|ซีวิลลอว์]].<ref>{{cite web |url=http://w3.uniroma1.it/idc/centro/publications/43finn.pdf |title=The Common Law in the World: the Australian Experience |publisher=W3.uniroma1.it |accessdate=2010-05-30 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110727131223/http://w3.uniroma1.it/idc/centro/publications/43finn.pdf |archive-date=2011-07-27 }}</ref>
 
"ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์" เป็นระบบกฎหมายซึ่งให้น้ำหนักในการปฏิบัติตามคำพิพากษาที่มีมาก่อนเป็นอย่างมาก บนแนวคิดซึ่งเชื่อว่าจะเป็นการอยุติธรรมหากศาลจะมีคำพิพากษาที่แตกต่างกัน สำหรับคดีพิพาทซึ่งมีข้อเท็จจริงที่คล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ด้วยเหตุผลที่ว่าคำพิพากษาเป็นที่มาประการหนึ่งของกฎหมาย (a source of law) ในระบบกฎหมายนี้. ด้วยเหตุนี้การตัดสินคดีในระบบ "คอมมอนลอว์" จึงไม่ได้เป็นเพียงการตีความกฎหมาย แต่มีผลเป็น "บรรทัดฐานทางกฎหมาย" (precedent) ที่ผูกมัดการตัดสินคดีในอนาคตตามไปด้วย ทั้งนี้ตามหลักการ[[ภาษาละติน]]ที่เรียกว่า ''[[stare decisis]]'' แปลว่า "ยืนตามคำวินิจฉัย (บรรทัดฐาน) ต่อไป". อย่างไรก็ตาม หากศาลพบว่าข้อพิพาทในปัจจุบันเป็นข้อเท็จจริงที่ไม่เคยเกิดขึ้น หรือมีความแตกต่างอย่างชัดเจนกับข้อพิพาทในอดีตทั้งหมด (matter of first impression) รวมถึงไม่มีกฎหมายทางนิติบัญญัติที่จะปรับใช้แก่คดีได้ ผู้พิพากษาย่อมมีอำนาจและหน้าที่ที่จะสร้างกฎหมายโดยการริเริ่มเป็นแบบอย่าง ภายหลังจากนั้น การตัดสินคดีครั้งนี้จะเป็นตัวอย่างแก่การตัดสินคดีครั้งต่อไป ซึ่งศาลในอนาคตจะต้องยึดถือตามเป็นบรรทัดฐาน.
บรรทัด 12:
==ลักษณะเฉพาะของระบบกฎหมายคอมม่อนลอว์==
โดยทั่วไปแล้วระบบกฎหมายคอมมอนลอว์มักจะหมายถึงกฎหมายที่มีเนื้อหา หรือมีที่มาจากคำพิพากษา ซึ่งเรียกว่ากฎหมายจากคดีพิพาท หรือ "case law" เพื่อแสดงความแตกต่างจากกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Statutory law) ซึ่งเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายนิติบัญญัติ.
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)|ซีวิลลอว์]]
 
==อ้างอิง==