ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ภาพรวม: นำลิงก์ภาษาอังกฤษ ที่มีบทความไทยออก
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
== ภาพรวม ==
 
[[สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ]] (US Environmental Protection Agency|US Environmental Protection Agency - EPA) เป็นผู้บุกเบิกในด้านนี้โดยใช้วิธี “[[วิเคราะห์เส้นทาง]]” ([[:en:pathway analysis|pathway analysis]]) เพื่อพิจารณาว่าโครงการจะกระทบต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งแวดล้อมและดูว่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ตามวิธีดังกล่าวเรียกอย่างถูกต้องว่า “[[วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม]]” หลักการของปรากฏการณ์หรือเส้นทางของผลกระทบดังกล่าวได้แก่: การประเมินผลกระทบที่มีต่อ[[การแปดเปื้อนของดิน]] ([[:en:Soil contamination|Soil contamination]]) [[มลภาวะของอากาศ]] ([[:en:air pollution|air pollution]]) สุขภาพจาก[[เสียงดังหนวกหู]] การประเมินผลกระทบต่อ[[ระบบนิเวศ]] ต่อ[[สิ่งมีชีวิตชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์]] ([[:en:endangered species|endangered species]]) การประเมินผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธรณีวิทยา และการประเมินผลกระทบ[[มลภาวะของน้ำ]] นิยามของการวิเคราะห์เชิงเส้นทางและระดับขั้นของธรรมชาติที่นำมาใช้ในวิธีการดังกล่าวนี้ได้พัฒนาเป็นพื้นฐานของมาตรฐานของประเภทสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในระดับโลก คือ [[:en:ISO 14000|ISO 14000]] ซึ่งเป็นอนุกรมมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมาตรฐานชุดบัญชี [[:en:ISO 19011|ISO 19011]] แต่มาตรฐานชุด [[ISO]] ดังกล่าวไม่นิยมใช้ในสหรัฐฯ และในอีกหลายประเทศ
 
หลังการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว อาจมีการประยุกต์ใช้ “[[หลักการระแวดระวัง]]” ([[:en:Precautionary Principle|Precautionary Principle]]) และ “[[ผู้สร้างมลภาวะเป็นผู้จ่าย”]] ([[:en:Polluter pays|Polluter pays]]) เพื่อเป็นการป้องกัน จำกัด หรือบังคับให้มีการรับผิดตามกฎหมาย หรือให้จ่ายค่าเสียหายที่เกิดกับสภาพแวดล้อมมากน้อยตามผลกระทบที่จะตามมา