ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูเขาน้ำแข็งเอ-68"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 2:
|langcode=en
}}
 
[[ไฟล์:Larsen C breaks.jpg|thumb|right|ภาพถ่ายจาก Sentinel-1B ของ ESA ถ่ายเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560]]
 
'''ภูเขาน้ำแข็ง เอ-68''' เป็น[[ภูเขาน้ำแข็ง]]ขนาดยักษ์ที่แยกตัวออกมาจาก[[หิ้งน้ำแข็งลาร์เซนซี]]ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560<ref name="MIDAS_12july">{{cite web|title=Larsen C calves trillion ton iceberg|url=http://www.projectmidas.org/blog/calving/|publisher=Project MIDAS|accessdate=12 July 2017|date=12 July 2017|archive-date=2017-07-12|archive-url=https://archive.today/20170712132043/http://www.projectmidas.org/blog/calving/|url-status=dead}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.bbc.com/news/science-environment-40321674|title=Giant iceberg splits from Antarctic|publisher=BBC|date=12 July 2017}}</ref><ref>{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2017/07/12/world/larsen-c-antarctica/index.html|title=Massive iceberg breaks away from Antarctica|date=12 July 2017|work=[[CNN]]|accessdate=13 July 2017}}</ref> ซึ่งครอบคลุมมันมีขนาดพื้นที่มากว่ากว่า 5,800 ตารางกิโลเมตร และมีน้ำหนักน้ำหนักกว่า 1 ล้านล้านตัน และทำให้มันเป็น[[รายชื่อภูเขาน้ำแข็งที่บันทึกตามขนาดพื้นที่|1หนึ่งในภูเขาน้ำแข็งขนาดยักษ์]]เท่าที่เคยมีการบันทึกมา
 
==ประวัติและผลกระทบ==
ภูเขาน้ำแข็ง เอ-68 นั้นเป็นส่วนหนึ่งของ[[หิ้งน้ำแข็งลาร์เซนซี]] แต่เนื่องจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นทำให้มันค่อยๆค่อย ๆ แยกตัวอย่างตัวออกอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557<ref>[https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/59807 การแยกตัว]</ref> และแยกตัวออกมาอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
 
นักวิทยาศาสตร์ได้ออกมากล่าวว่าการที่ภูน้ำแข็งเอ-68 แตกออกมาจาก[[หิ้งน้ำแข็งลาร์เซนซี]]นั้นเป็นเพียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและไม่ได้มีผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลในมหาสมุทร แต่ถึงอย่างนั้นการที่ภูน้ำแข็งเอ-68 แตกออกมานั้นจะทำให้น้ำทะเลไหลเข้ามาแทนที่จนทำให้[[ธารน้ำแข็ง]]ไหลลงทะเลได้มากขึ้นจน จึงอาจส่งผลต่อระดับน้ำทะเลในอนาคตได้<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/2017/8/2/16081998/ice-berg-larsen-c-ice-shelf-collapse-antarctica-climate-change| title=Cracks are still spreading where that massive Antarctic iceberg broke free| last=Becker| first=Rachel|date=2017-08-02|website=The Verge|access-date=2017-08-02}}</ref>
 
==ที่มาของชื่อ==