ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จ้อย เหล็กแท้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายจากนักมวยที่มีชื่อเสียงของไชยา
 
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่หมวดหมู่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักมวย
| ชื่อ = เนียม วงศ์ไชยา
| ชื่อจริง = จ้อย เหล็กแท้
| ภาพ =
บรรทัด 19:
| เสมอ =
}}
'''นายจ้อย เหล็กแท้ ''' เป็นผู้ตั้ง ค่ายมวย “วงค์ไชยา” ดังที่กล่าวแล้ว เริ่มชกที่อำเภอไชยา บ้านเกิดก่อน เพราะฝึกหัดมวยมาตั้ง เด็ก หลังจากบวชเรียนก็เดินทางไปทำการประมงในเขต[[ชุมพร]] เมื่อมีรายการชกมวย จึงขึ้นประลองกับเขาบ้าง ได้รับชัยชนะติดต่อกัน 4 ครั้ง พอดีกับคุณนายชื่น ศรียาภัยลงมาจากกรุงเทพฯ มาธุระที่เมืองชุมพร และได้ให้คุณหลวงศรี (เป็นผู้แทนในสมัยนั้น) เรียกตัวนักมวยเมืองชุมพรเข้าพบ นายจ้อย ถูกกำนันที่นั่นเรียกตัวให้เข้าพบด้วย เมื่อคุณนายชื่น ทราบประวัติการชกที่เมืองชุมพร รวมทั้งทราบว่า เป็นนักมวยจากไชยาบ้านเกิด จึงนำตัวนายจ้อยเข้ากรุงเทพฯแต่เพียงผู้เดียว และเปลี่ยนชื่อในการชกมวยมาเป็น “นายเนียม วงค์ไชยา” ครั้นวันเปรียบคู่มวยครั้งแรก ได้คู่กับนายแก้ว นักมวยชาว[[อุตรดิตถ์]] แต่ถูกสบประมาทจากนาย[[วร พระประแดง ]] จึงจับเอานายวรด้วยโดยชกกันคนละอาทิตย์ ซึ่งทางสนามก็ยอมตกลง ผลการชกทั้งสองครั้งได้รับชัยชนะ ในช่วงนั้นมีการชกมวยเพื่อที่จะนำเงินไปบำรุงกองทัพ จึงเสนอตัวเข้าทำการชกโดยไม่ขอเงินรางวัล จนเพื่อนนักมวยด้วยกันต้องออกปากถามว่า “ชกทำไมไม่เอาเงิน” นายจ้อยตอบอย่างภาคภูมิใจเสมอว่า “นายเนียม วงค์ไชยา เป็นเด็กของแม่ชื่น เมื่อแม่ชื่นให้กินให้ใช้ ให้ที่อยู่ เงินรางวัลจึงไม่จำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการชกเพื่อนำเงินบำรุงกองทัพ” และรางวัลทุกครั้งที่ขึ้นชกเพื่อเป็นเกียรติ จะได้เหรียญหรือเข็มเชิดชูเกียรติเท่านั้นเอง
 
'''นายจ้อย เหล็กแท้ ''' เป็นผู้ตั้ง ค่ายมวย “วงค์ไชยา” ดังที่กล่าวแล้ว เริ่มชกที่อำเภอไชยา บ้านเกิดก่อน เพราะฝึกหัดมวยมาตั้ง เด็ก หลังจากบวชเรียนก็เดินทางไปทำการประมงในเขต[[ชุมพร]] เมื่อมีรายการชกมวย จึงขึ้นประลองกับเขาบ้าง ได้รับชัยชนะติดต่อกัน 4 ครั้ง พอดีกับคุณนายชื่น ศรียาภัยลงมาจากกรุงเทพฯ มาธุระที่เมืองชุมพร และได้ให้คุณหลวงศรี (เป็นผู้แทนในสมัยนั้น) เรียกตัวนักมวยเมืองชุมพรเข้าพบ นายจ้อย ถูกกำนันที่นั่นเรียกตัวให้เข้าพบด้วย เมื่อคุณนายชื่น ทราบประวัติการชกที่เมืองชุมพร รวมทั้งทราบว่า เป็นนักมวยจากไชยาบ้านเกิด จึงนำตัวนายจ้อยเข้ากรุงเทพฯแต่เพียงผู้เดียว และเปลี่ยนชื่อในการชกมวยมาเป็น “นายเนียม วงค์ไชยา” ครั้นวันเปรียบคู่มวยครั้งแรก ได้คู่กับนายแก้ว นักมวยชาว[[อุตรดิตถ์]] แต่ถูกสบประมาทจากนาย[[วร พระประแดง ]] จึงจับเอานายวรด้วยโดยชกกันคนละอาทิตย์ ซึ่งทางสนามก็ยอมตกลง ผลการชกทั้งสองครั้งได้รับชัยชนะ ในช่วงนั้นมีการชกมวยเพื่อที่จะนำเงินไปบำรุงกองทัพ จึงเสนอตัวเข้าทำการชกโดยไม่ขอเงินรางวัล จนเพื่อนนักมวยด้วยกันต้องออกปากถามว่า “ชกทำไมไม่เอาเงิน” นายจ้อยตอบอย่างภาคภูมิใจเสมอว่า “นายเนียม วงค์ไชยา เป็นเด็กของแม่ชื่น เมื่อแม่ชื่นให้กินให้ใช้ ให้ที่อยู่ เงินรางวัลจึงไม่จำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการชกเพื่อนำเงินบำรุงกองทัพ” และรางวัลทุกครั้งที่ขึ้นชกเพื่อเป็นเกียรติ จะได้เหรียญหรือเข็มเชิดชูเกียรติเท่านั้นเอง
นายจ้อยอยู่ตระเวนชกในกรุงเทพฯ เป็นเวลา 3 ปี 5 เดือน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเพลี่ยงพล้ำ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่ถูกตัดสินให้แพ้ฟาล์ว เพราะใช้หัวขวิดคู่ต่อสู้จนเป็นแผลแตกฉกรรจ์แต่มีการโต้เถียงกันขึ้น จนปรมาจารย์[[กิมเส็ง ทวีสิทธิ์]] ต้องขึ้นมาตัดสินเอง หลังจากที่ได้พูดเรื่องแม่ไม้มวยไทยกันจนเพียงพอ ก็ได้กลับคำตัดสินให้นายจ้อยเป็นผู้ชนะได้
 
นายจ้อยอยู่ตระเวนชกในกรุงเทพฯ เป็นเวลา 3 ปี 5 เดือน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเพลี่ยงพล้ำ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่ถูกตัดสินให้แพ้ฟาล์ว เพราะใช้หัวขวิดคู่ต่อสู้จนเป็นแผลแตกฉกรรจ์แต่มีการโต้เถียงกันขึ้น จนปรมาจารย์[[กิมเส็ง ทวีสิทธิ์]] ต้องขึ้นมาตัดสินเอง หลังจากที่ได้พูดเรื่องแม่ไม้มวยไทยกันจนเพียงพอ ก็ได้กลับคำตัดสินให้นายจ้อยเป็นผู้ชนะได้
ครั้นกลับมาบ้านเกิดเมืองไชยา ก็ได้ตั้งคณะมวย “วงค์ไชยา” ฝึกหัดศิษย์ให้รู้แม่ไม้มวยไทยเป็นต้นมา ปัจจุบันนายจ้อย เหล็กแท้มีบ้านพักอยู่บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่ง [[อำเภอไชยา]]
 
ครั้นกลับมาบ้านเกิดเมืองไชยา ก็ได้ตั้งคณะมวย “วงค์ไชยา” ฝึกหัดศิษย์ให้รู้แม่ไม้มวยไทยเป็นต้นมา ปัจจุบันนายจ้อย เหล็กแท้มีบ้านพักอยู่บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่ง [[อำเภอไชยา]]
 
[[หมวดหมู่:นักมวย]]