ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิหารแพนธีอัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phaisit16207 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phaisit16207 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
|wiki articles = [[มาร์คัส วิพซานิอัส อกริพพา]], [[จักรพรรดิเฮเดรียน]], [[อพอลโลโดรัสแห่งดามาสคัส]]
|}}
'''วิหารแพนธีอัน''' ({{lang-en|Pantheon}}<ref>{{cite book|title=Oxford English Dictionary|publisher=Oxford University Press|location=Oxford, England|date=revised December 2008|chapter=Pantheon|accessdate=2009-03-11}}</ref>, {{IPAc-en|p|æ|n|ˈ|θ|iː|.|ə|n}} หรือ {{IPAc-en|ˈ|p|æ|n|θ|i|.|ə|n}}; {{lang-la|Pantheum}}<ref group="nb">Rarely ''Pantheum''. This appears in Pliny's Natural History (XXXVI.38) in describing this edifice: ''Agrippae Pantheum decoravit Diogenes Atheniensis; in columnis templi eius [[Caryatid]]es probantur inter pauca operum, sicut in fastigio posita signa, sed propter altitudinem loci minus celebrata.''</ref>,<ref>{{cite book|title=Oxford English Dictionary|publisher=Oxford University Press|location=Oxford, England|date=revised December 2008|chapter=Pantheon|accessdate=2009-03-11}}</ref> มาจาก {{Lang-el|Πάνθεον}} ที่แปลว่า “พระเจ้าทั้งหมด”) เป็นสิ่งก่อสร้างที่ตั้งอยู่ใน[[กรุงโรม]] เดิมสร้างโดย[[มาร์คัส วิพซานิอัส อกริพพา]] (Marcus Vipsanius Agrippa) สำหรับเป็น[[เทวสถานโรมัน|เทวสถาน]] (Roman temple) สำหรับเทพต่างๆ ของโรมันโบราณ [[โรมันโบราณ]] ต่อมาก็ได้รับการสร้างใหม่ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2
 
แต่ตัวสิ่งก่อสร้างจะอุทิศให้แก่เทพเท่าใดนั้นก็ยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ คำว่า “แพนธีอัน” โดยทั่วไปในปัจจุบันหมายถึงอนุสาวรีย์ที่เป็นที่เก็บศพของคนสำคัญ แพนธีอันเป็นสิ่งก่อสร้างจากสมัยโรมันที่ยังอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุดสิ่งหนึ่ง และได้รับการใช้สอยตลอดมาในประวัติศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ก็ใช้เป็นคริสต์ศาสนสถานของ[[โรมันคาทอลิก]] ที่อุทิศให้ “พระแม่มารีและผู้พลีชีพเพื่อศาสนา” ตัวตึกเป็นสิ่งก่อสร้างที่มี[[โดม]]ขนาดใหญ่ที่เก่าที่สุดในกรุงโรม ความสูงของ[[ช่องตา]] (oculus) บนเพดานและเส้นผ่าศูนย์กลางของช่องวัดจากด้านในเท่ากับ 43.3 เมตรเท่ากัน<ref>Jürgen Rasch: ''Die Kuppel in der römischen Architektur. Entwicklung, Formgebung, Konstruktion'', ''Architectura'', Vol. 15 (1985), pp. 117–139 (119)</ref>