ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดชัยพระเกียรติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มประวัติ
บรรทัด 40:
==ประวัติ==
 
วัดชัยพระเกียรติ เดิมชื่อ '''วัดไชยปราเกียร''' หรือ '''วัดไชยผาเกียร''' สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติระบุว่าตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2088 ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]เมื่อ พ.ศ. 2400<ref>{{cite web |title=วัดชัยพระเกียรติ |url=http://binfo.onab.go.th/Temple/Temple-List-View.aspx?search=&pagesize=20&pageno=1&sortexpr=&sortorder=&NameTemp=%e0%b8%8a%e0%b8%b1%e0%b8%a2%e0%b8%9e%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%81%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a3%e0%b8%95%e0%b8%b4&TypeTemp=&Sect=&Province=&District=&SubDistrict= |publisher=สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ}}</ref> แต่จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่า มีมาอย่างน้อยตั้งแต่สมัย[[พระเมืองแก้ว]]แล้ว เนื่องจากวัดนี้ปรากฏใน[[โคลงนิราศหริภุญชัย]] ที่แต่งเมื่อ พ.ศ. 2060<ref>https://www.matichonweekly.com/column/article_73951</ref> <ref>https://www.matichonweekly.com/culture/article_486455</ref> ความว่า
 
{{โคลงสี่สุภาพ
บรรทัด 49:
|source=โคลงนิราศหริภุญชัย}}<ref name="ประเสริฐ ณ นคร">{{cite web |title=โคลงนิราศหริภุญชัย |url=https://vajirayana.org/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2 |publisher=วัชรญาณ}}</ref>
 
[[ประเสริฐ ณ นคร]] ระบุว่า คำว่า "ปราเกียร" ซึ่งชาวบ้านเรียก ปราเกี๋ยน อาจตรงกับวัดชัยพระเกียรติ หรือมิฉะนั้นก็อาจแปลได้ว่า ปราการ คือกำแพง<ref name="ประเสริฐ ณ นคร"/> วิจิตร ยอดสุวรรณ ระบุว่า วัดชัยพระเกียรติคงสร้างมาก่อนสมัยพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ เพราะปรากฏในโคลงนิราศหริภุญชัย กวีได้แต่งเรื่องนี้ก่อนที่จะถึงสมัยพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ แล้วมาได้รับการบูรณะในสมัยพระเจ้าเมกุฎสุทธิวงศ์กุิฎสุทธิวงศ์<ref>{{cite web |title=คำอธิบายประกอบของ นายวิจิตร ยอดสุวรรณ |url=https://vajirayana.org/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2/%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3-%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93 |publisher=วชิรญาณ}}</ref>
 
พ.ศ. 2060 "...เจ้า" และเจ้าพันจ่าพวกเรือของพระมหาเทวีเจ้า (สันนิษฐานว่าพระมหาเทวีเจ้าคือ[[พระนางสิริยศวดีเทวี]]) ได้เป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปในอุโบสถของวัด<ref>ฮันส์ เพนธ์. คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2519.</ref> (ปัจจุบันทางวัดเก็บรักษาในบริเวณอื่น)
==อาคารเสนาสนะ==
 
[[วิหาร]]หลังใหม่สร้างแทนของเดิมที่ผุพังไป หน้าบันลวดลายพรรณพฤกษา ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกาและหางหงส์ทำเป็นรูปพญานาค ประตูลงรักปิดทองทำเป็นรูปเทวดายืน ภายในวิหารมีภาพ[[จิตรกรรมฝาผนัง]] และมี[[เจดีย์]]ทรงลังกา มีฐานเขียงสี่เหลี่ยม ฐานบัวลูกแก้วสี่เหลี่ยมย่อเก็จ ชั้นมาลัยเถาเหลี่ยมซ้อนกัน 5 ชั้น องค์ระฆังทรงกลม บัลลังก์ย่อเหลี่ยม ปล้องไฉน ปลียอด และฉัตร<ref>{{cite web |title=วัดชัยพระเกียรติ อ.เมืองเชียงใหม่ |url=https://chiangmaiculture.net/web/index.php?r=site%2Fdetail&id=21&type=article |publisher=มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่}}</ref>
พ.ศ. 2101 [[พระเจ้าบุเรงนอง]] กษัตริย์พม่าเสด็จยกทัพมาเมืองเชียงใหม่ ตั้งทัพอยู่ที่ยางพรัง [[พระเมกุฏิสุทธิวงศ์|พระแม่กุ]]นิมนต์สมเด็จเจ้าศรีนันทะ วัดพระสิงห์, มหาสังฆราชาไชยประเกียรรัตนปัญญา, แม่กิมหาพุทธิมาหมื่นน้อง, มหาแม่หมากเลิก และเจ้าพญาแขกพุทธิมา, เจ้าแสนทวนญาณเสถียร, หมื่นล่ามแขกซ้าย, วชิรประหญา เป็นคณะทูตออกไปเจรจาความเมืองกับพระเจ้าบุเรงนอง พระเจ้าบุเรงนองตรัสกับคณะทูตให้พระแม่กุออกมานั่งร่วมอาสนา ก่อนที่จะออกทัพเข้าล้อมเมืองเชียงใหม่ จน[[อาณาจักรล้านนา]]เสียเอกราชให้กับพระองค์ ดังตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า
 
{{คำพูด|เจ้าฟ้าหงสาลวดยกริพลตามหลังแขกมารอดเมืองเชียงใหม่ เดือน ๗ ออก ๙ ฅ่ำ ตั้งทับอยู่ยังยางพรังที่น้ำบ่อกัณณิการ์ พระเปนเจ้าแม่กุจิ่งนิมนต์สมเด็จเจ้าสรีนันทะพระสิงห์ แล'''มหาสังฆราชาไชยประเกียรรัตตนปัญญา''' แม่กิมหาพุทธิมาหมื่นน้อง มหาแม่หมากเลิก แลเจ้าพระญาแขกพุทธิมา ๑ เจ้าแสนทวนญาณเสถียร ๑ หมื่นล่ามแขกซ้าย ๑ วชิรประหญา ๑ ไพไหว้เจ้าฟ้าหงสา เจ้าฟ้าหงสาว่าหื้อพระเปนเจ้าเมืองพิงเชียงใหม่ออกมานั่งร่วมอาสสนาเราเทิอะ ว่าฉันนี้ คันบัวรบัตฉันนี้ ค็จักเปนสุขแก่รัฏฐปัชชานราฏฐ์ทังมวลชะแล ว่าอั้น|ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่}}<ref>{{อ้างหนังสือ|ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ 700 ปี|จังหวัด = เชียงใหม่| พิมพ์ที่ = ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่| ปี = 2538| ISBN = 974-8150-62-3|}}</ref>
 
==พระพุทธเมืองรายเจ้า==
เส้น 60 ⟶ 63:
พระพุทธเมืองรายเจ้า หรือ ''พระเจ้าห้าตื้อ'' สร้างโดยเจ้าทัพไชยพญาจ่าบ้าน (สังราม) เมื่อ พ.ศ. 2108 เป็นพระพุทธรูป[[ศิลปะล้านนา]] [[ปางมารวิชัย]] หล่อด้วยทองสำริด หนักประมาณ 5,000 กิโลกรัม ประทับอยู่ใน[[ซุ้มโขง]]ภายในวิหาร บริเวณฐานมีจารึกอักษรพม่าและอักษรธรรมล้านนา ดังนี้
 
{{คำพูด|ကောဇာသက္ကရာဇ် ၉၂၇ ခုနှစ်၊ ပြာသိုလဆန်း တစ်ဆယ့်သုံးရက်ဗုဒ္ဓဟူးနေ့၊ နေလွဲအင်္ဂါသခါနက္ခတ် လေးလုံးတတ္ထိ တစ်ဆယ့်တစ်ရက်၊ ကျိုင်းမယ် ဟူသော ပြည်ကြီးအလယ်၌ မင်းတကာထက် အလွန်မြတ်တော်မူသော အရှင်ဘဝရှင်မင်းတရားကြီး၊ ရွှေနန်းသခင်ဆင်ဖြူရှင်၊ အမတ်တော်မင်းဇေယျသရံပညာစာပန်၊ ဘုရားသာသနာတော် ၅၀၀၀ တည်သည်။ လူနတ်ဗြဟ္မာတို့၏ ကိုးကွယ်ရာ ဖြစ်စေလို၍၊ ဘုရားဆင်းတုပျက်စီးသည်များလို...၊ သဗ္ဗညုဘုရားရုပ်တုတော်...သည်၊ ကြေးအပိဿာ ....။<ref>https://www.facebook.com/allaboutmyanmar/posts/105705238410060</ref>
 
(แปล) ศักราช 927 วันพุธ ขึ้น 13 คํ่า เดือนบุษย ตอนบ่าย อังคารและศุกร์อยู่ในนักษัตร์ฤกษ์ที่ 4 ติถี 11 เจ้าไชยยะสรํพญาจาผัน ณ มหานครชื่อว่าเชียงใหม่ ผู้เป็นข้าหลวงในพระเจ้าช้างเผือกเจ้าหอคำมหาธรรมราชเจ้าชีวิตเหนือเจ้าเมืองทั้งปวง (พระเจ้าบุเรงนอง) มีความประสงค์ว่าควรจะให้มีสิ่งสักการะสำหรับคนเทวดาและพราหมณ์(ตลอด) 5,000 (พรรษาของพระศาสนา) อันศักดิ์สิทธิ์จึงได้รวบรวม (?) บรรดาพระพุทธรูปที่แตกหักและนำมาหล่อ (?) รูปพระพุทธสัพพัญญูเป็นทองสัมฤทธิ์มีนํ้าหนัก 5,000 (?) วิส จบ}}<ref>https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/26694</ref>
 
{{คำพูด|ศรีศุภมัสตุ จุลศักราชได้ 927 ตัว ในปีฉลูสนำกัมโพชพิสัย ไทยว่าปีดับเป้า เข้าในกัตติกามาส ศุกลปักษ์พิสัย ไทยว่าเดือนยี่ ออก 3 คํ่า พรํ่าได้วันศุกร์มิสงสัย ไทยว่าวันรวายยี ยามกลองแลง แลเป็นศุภวารวันดีอันยิ่ง จึงเจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้าน ผู้เป็นข้าอโนชิตแห่งสมเด็จพระธรรมิกราชาธิราชเจ้า เจ้าช้างเผือกหอคำตนประเสริฐ ลาเลิศอุตตมกว่าท้าวพระยาทั้งหลาย หมายแต่งไว้ให้อยู่รักษาพุทธศาสนาแลประชาราษฎร์ทั้งหลายในนพบุรีศรีมหานครเวียงพิงค์เชียงใหม่ยิ่ง จึงรำเพิงเถิงคุณพุทธศาสนา ใคร่หื้อพระพุทธจำเริญจึงจัด......หมายบุญราศีทั้งมวลแก่สมเด็จพระมหาเทวีเจ้าตนเป็นเหง้า (พระนางวิสุทธิเทวี) ในนพบุรีแลท้าวพระยาเสนาอามาตย์ สมณประชาราษฎร์ทั้งหลายก็หมายมีสมานฉันท์อันยิ่ง จึงจักสรุปเอายังพุทธรูปทั้งหลายหมู่เป็นจลาจลอันตรายแตกบ่หื้อย่อนเสีย? รอมเอามาหื้อเป็นพุทธรูปไว้ดังเก่าเล่า จึงจักวางกรรมการไว้แก่หมื่นหลวงเหล็ก หมื่นหลวงจ่าบ้าน หมื่นหนังสือ แลชาวจ่าบ้าน แลขุนอังวะ (ขุน)หงสาทั้งหลาย แรกตั้งไว้ในวันอัน......... นี้ไซร้เถิงเดือนบุษยมาส ไทยว่าเดือนสี่ ออกสิบสามคํ่า เม็ง...4 ไทยวันกาบเส็ด ยามตูดซ้าย ได้หล่อพุทธรูปองค์นี้ มีคณนานํ้าหนักมีพอ ๒๐๐๐๐๐๐ ทอง ลวดฉลองเบิกพระนามพระองค์นี้ ชื่อพระพุทธเมืองรายเจ้าไว้ เพื่อหื้อเป็นที่ไหว้แก่คนแลเทพดาต่อเท้าห้าพันพระวัสสาแล ด้วยเตชกุศลเจตนาอันได้สร้างพระพุทธเมืองรายองค์นี้ กับได้สร้างลำเจียงหางไสคำเป็นลำแวดพระมหาเจดีย์เจ้านี้ไซร้ เจ้าทัพไชยสังรามจ่าบ้านก็ยังตั้งปรารถนาไว้ว่า ในอัตภาวะอันนี้หื้อมีชีวิตอันยืนตามเขตแล้ว ครั้นจุติก็หื้อเกิดในสวรรค์เทวโลกเป็นต้นดาวดึงสาแลดุสิตา หื้ออยู่ตามอายุเวียงแก้ว เมื่ออริยเมไตรยาลงมาเป็นพระ หื้อข้าเกิดร่วมวันทันยาม หื้อเกิดในกระกูลอันประเสริฐคือท้าวพระยา.........ใหญ่? เมื่อใดพระตรัสสัพพัญญูแล้วขอหื้อบวชข้าด้วย ว่าเอหิภิกขุในสำนักพระเมไตรย แลรอดนิพพานกับพระพุทธเจ้าเทอญ}}<ref>https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/26695</ref>
 
==อาคารเสนาสนะ==
[[วิหาร]]หลังใหม่ สร้างแทนของเดิมที่ผุพังไป หน้าบันลวดลายพรรณพฤกษาและเทพนม ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกาและหางหงส์ทำเป็นรูปพญานาค ประตูลงรักปิดทองทำเป็นรูปเทวดายืน ภายในวิหารประดิษฐานพระพุทธเมืองรายเจ้า มีภาพ[[จิตรกรรมฝาผนัง]]พุทธประวัติตอนตรัสรู้และเรื่อง[[มหาเวสสันดรชาดก]] ฝีมือบุญปั๋น พงษ์ประดิษฐ์
 
[[วิหาร]]หลังใหม่สร้างแทนของเดิมที่ผุพังไป หน้าบันลวดลายพรรณพฤกษา ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกาและหางหงส์ทำเป็นรูปพญานาค ประตูลงรักปิดทองทำเป็นรูปเทวดายืน ภายในวิหารมีภาพ[[จิตรกรรมฝาผนัง]] และมี[[เจดีย์]]ทรงลังกา มีฐานเขียงสี่เหลี่ยม ฐานบัวลูกแก้วสี่เหลี่ยมย่อเก็จ ชั้นมาลัยเถาเหลี่ยมซ้อนกัน 5 ชั้น องค์ระฆังทรงกลม บัลลังก์ย่อเหลี่ยม ปล้องไฉน ปลียอด และฉัตร<ref>{{cite web |title=วัดชัยพระเกียรติ อ.เมืองเชียงใหม่ |url=https://chiangmaiculture.net/web/index.php?r=site%2Fdetail&id=21&type=article |publisher=มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่}}</ref>
 
==อ้างอิง==