ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ่าวเมาะตะมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์File:MartabanMartaba satellite.svgjpg|thumbnailthumb|ภาพถ่ายดาวเทียมของอ่าวเมาะตะมะ]]
{{Designation list
'''อ่าวเมาะตะมะ''' ({{lang-my|မုတ္တမပင်လယ်ကွေ့}}; {{lang-en|Gulf of Martaban}}) เป็นพื้นน้ำส่วนหนึ่งของ[[ทะเลอันดามัน]]ทางตอนใต้ของ[[ประเทศพม่า]] ชื่อของอ่าวเมาะตะมะได้มาจากเมือง[[เมาะตะมะ]] [[แม่น้ำสะโตง]]และ[[แม่น้ำย่างกุ้ง]]ต่างไหลลงสู่อ่าวนี้<ref>[http://www.infoplease.com/ce6/world/A0831983.html Gulf of Martaban]. InfoPlease.com. Accessed March 30, 2012.</ref>
| designation1 = Ramsar
| designation1_offname = อ่าวเมาะตะมะ
| designation1_date = 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
| designation1_number = 2299<ref>{{Cite web|title=Gulf of Mottama|website=[[Ramsar Convention|Ramsar]] Sites Information Service|url=https://rsis.ramsar.org/ris/2299|access-date=25 April 2018}}</ref>}}'''อ่าวเมาะตะมะ''' ({{lang-my|မုတ္တမပင်လယ်ကွေ့}}; {{lang-en|Gulf of Martaban}}) เป็นพื้นน้ำส่วนหนึ่งของ[[ทะเลอันดามัน]]ทางตอนใต้ของ[[ประเทศพม่า]] ชื่อของอ่าวเมาะตะมะได้มาจากเมือง[[เมาะตะมะ]] [[แม่น้ำสะโตง]]และ[[แม่น้ำย่างกุ้ง]]ต่างไหลลงสู่อ่าวนี้<ref>[http://www.infoplease.com/ce6/world/A0831983.html Gulf of Martaban]. InfoPlease.com. Accessed March 30, 2012.</ref>
 
ลักษณะเฉพาะของอ่าวเมาะตะมะคือมีแนวชายฝั่งที่ปกคลุมด้วยน้ำขึ้นน้ำลง ระดับน้ำขึ้นลงอยู่ในช่วงระหว่าง 4–7 เมตร โดยมีระดับน้ำขึ้นลงสูงสุดบริเวณอ่าวเมาะตะมะตะวันตก
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
ในช่วงน้ำขึ้นน้ำลง จะมีระดับน้ำขึ้นลงอยู่ที่ประมาณ 6.6 เมตร เขตน้ำขุ่นครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 45,000 ตารางกิโลเมตร ทำให้เป็นเขตน้ำขุ่นที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในมหาสมุทรโลก ในช่วงน้ำลดที่ระดับ 2.98 เมตร พื้นที่ความขุ่นสูงจะลดลงเหลือ 15,000 ตารางกิโลเมตร ขอบพื้นที่ความขุ่นสูงจะเคลื่อนตัวไปมาพร้อมวงจรน้ำขึ้นน้ำลงร่วม 150 กิโลเมตร<ref>[http://www.sea-seek.com/?geo=8349 Gulf of Martaban (Burma)]. SeaSeek. Accessed March 30, 2012.</ref>
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[ทะเลอันดามัน]]
อ่าวนี้เป็นที่อยู่อาศัยของสายพันธุ์ต่าง ๆ<ref>Wongthong P.. True J.. 2015. [http://www.themimu.info/sites/themimu.info/files/assessment_file_attachments/CLCMGoMP_IUCN_O3_Ecology_Assessment_Report_FinalDraft_Sep2015.pdf. Community-Led Coastal Management in the Gulf of Mottama Project (CLCMGoMP): Updated situation analysis of the Gulf of Mottama - Based on the rapid socio-ecological assessment] (pdf). [[Swiss Agency for Development and Cooperation]]. Retrieved on March 02, 2017</ref> รวมทั้ง [[วาฬบรูด้า]] ที่ได้จำแนกชั้น[[ชีววิทยาทางทะเล]]แล้ว<ref>[[Wildlife Conservation Society]]. 2014. Marine Conservation - Current knowledge and research recommendation (pdf). Retrieved on March 02, 2017</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2551 พบว่าเขตนี้อุดมไปด้วยแหล่งน้ำมัน เป็นแหล่งสำรวจน้ำมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ภายใต้ "โครงการพัฒนาซอติกะ" ซึ่งเป็นกลุ่มบริษัทระหว่างประเทศของอเมริกา ([[เชฟรอน]]), อังกฤษ ([[บีพี]]), ฝรั่งเศส ([[โททาล]]), จีน (CNOOC), ไทย ([[ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม|ปตท]]), อินโดนีเซีย (PT Gunanusa) และ อินเดีย (L&T) ที่สำรวจน้ำมันในบล็อก M7, M9 และ M11<ref>{{cite news |title=Zawtika project, Gulf of Martaban, Myanmar |url=https://www.offshore-technology.com/projects/zawtika-gulf-martaban-myanmar-burma/ |access-date=10 April 2019 |publisher=Offshore technology}}</ref><ref>{{cite web |title=Zawtika development project |url=http://www.offshore-ocs.com/projects/zawtika-development-project-phase-1a/ |website=www.offshore-ocs.com |publisher=Offshore OCS |access-date=10 April 2019}}</ref>
 
{{coord|16|31|15|N|97|00|45|E|region:MM_type:waterbody_source:GNS_scale:2500000|display=title}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{รายชื่อทะเล}}