ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ILikelargeFries (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ลากรองจ์" → "ลากร็องฌ์" ด้วยสจห.
บรรทัด 30:
| decay_date =
 
| orbit_reference = จุดลากรองจ์ที่ลากร็องฌ์ที่ 2 ระหว่างดาวโลก-ดวงอาทิตย์
| orbit_regime = วงโคจรฮาโล
| orbit_periapsis = {{cvt|374000|km}}<ref name="eoPortal">{{cite web|url=https://directory.eoportal.org/web/eoportal/satellite-missions/j/jwst|title=James Webb Space Telescope|publisher=ESA eoPortal|access-date=29 June 2015}}</ref>
บรรทัด 77:
'''กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์''' ({{lang-en|James Webb Space Telescope}}; JWST) เป็น[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์การ[[นาซา]] [[องค์การอวกาศยุโรป]] (ESA) และ[[องค์การอวกาศแคนาดา]] (CSA) มีเป้าหมายเพื่อสืบทอดภารกิจของ[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ในการเป็นภารกิจ[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]]หลักของนาซา<ref name="about">{{cite web|url=https://jwst.nasa.gov/about.html|title=About the James Webb Space Telescope|access-date=13 January 2012}} {{PD-notice}}</ref><ref>{{cite web|url=https://jwst.nasa.gov/comparison.html|title=How does the Webb Contrast with Hubble?|publisher=NASA|access-date=4 December 2016|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20161203014957/http://jwst.nasa.gov/comparison.html|archive-date=3 December 2016}} {{PD-notice}}</ref> กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2021 มันสามารถสังเกตภาพในช่วงคลื่นอินฟราเรดด้วยความคมชัดและความไวแสงมากกว่า[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]] นอกจากนี้ มันสามารถสังเกตวัตถุและเหตุการณ์ที่ห่างไกลใน[[เอกภพ]]ได้ด้วย เช่น การ[[กำเนิดและวิวัฒนาการของดาราจักร]] และลักษณะชั้นบรรยากาศของ[[ดาวเคราะห์นอกระบบ]] เป็นต้น
 
องค์ประกอบกล้องโทรทรรศน์รับแสง เป็นกระจกสะท้อนหลักของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ ซึ่งประกอบไปด้วยกระจก[[เบริลเลียม]]เคลือบ[[ทอง]]ทรงหกเหลี่ยม 18 ส่วน ซึ่งประกอบกันเพื่อสร้างกระจกเส้นผ่านศูนย์กลาง {{cvt|6.5|m}} {{mdash}} ใหญ่กว่ากระจกสะท้อนหลักของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขนาด {{cvt|2.4|m}} เป็นอย่างมาก กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์จะสังเกตการณ์ในช่วง[[สเปกตรัมมองเห็นได้|คลื่นแสงที่มองเห็นได้]]ไปจนถึงคลื่น[[อินฟราเรด|อินฟราเรดกลาง]] (0.6 to 28.3 μm) ซึ่งต่างจากฮับเบิลซึ่งสังเกตการณ์ตั้งแต่คลื่น[[รังสีอัลตราไวโอเลต|ใกล้อัลตราไวโอเลต]] [[สเปกตรัมมองเห็นได้|คลื่นแสงที่มองเห็นได้]] และคลื่นใกล้[[อินฟราเรด|อินฟราเรด]] (0.1 to 1 μm) การที่เจมส์ เวบบ์สังเกตการณ์ในคลื่นที่ต่ำกว่าจะทำให้มันสามารถเห็นวัตถุที่[[การเลื่อนไปทางแดง|เลื่อนไปทางแดง]]อย่างมากซึ่งมีเก่าและไกลเกินกว่าที่ฮับเบิลจะมองเห็นได้<ref name="ReferenceB">{{cite web|url=http://www.stsci.edu/jwst/overview/history/1994|archive-url=https://wayback.archive-it.org/all/20140203162406/http://www.stsci.edu/jwst/overview/history/1994|url-status=dead|archive-date=3 February 2014|title=James Webb Space Telescope JWST History: 1989-1994 |publisher=Space Telescope Science Institute, Baltimore, Maryland|date=2017|access-date=29 December 2018}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.stsci.edu/jwst/instrumentation|title=Instrumentation of JWST |date=29 January 2020|publisher=Space Telescope Science Institute|access-date=29 January 2020}}</ref> ตัวกล้องโทรทรรศน์จะต้องถูกรักษาไว้ในสภาพเย็นจัดเพื่อที่จะสามารถสังเกตการณ์เคลื่อนอินฟราเรดได้ด้วยไม่มีการรบกวน มันจึงจะถูกปล่อยไปยังบริเวณ[[จุดลากรองจ์ที่ลากร็องฌ์]]ที่ 2 ระหว่างดาวโลก-ดวงอาทิตย์ ประมาณ {{convert|1.5|e6km|mi}} จากโลก (0.01 [[หน่วยดาราศาสตร์|au]] – 3.9 เท่าระยะทางจากโลกสู่ดวงจันทร์).<ref>{{cite web |url=https://www.esa.int/Science_Exploration/Space_Science/Herschel/L2_the_second_Lagrangian_Point |title=L2, the second Lagrangian Point |access-date=5 December 2021}}</ref>ฉากกันแสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ผลิตด้วย[[ซิลิคอน]] และแคปตอนเคลือบ[[อะลูมิเนียม]]จะช่วยรักษาอุณหภูมิของกระจกรับแสงและเครื่องมือวัดให้ต่ำกว่า {{cvt|50|K|0}}.<ref name="nasasunshield"/>
 
[[ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด|ศูนย์การบินอวกาศก็อดดาร์ด]]ของนาซาเป็นผู้จัดการการพัฒนากล้องโทรทรรศน์อวกาศ และ[[สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ]]จะเป็นผู้ดำเนินการหลังจากการปล่อย<ref>{{cite web |url=https://www.jwst.nasa.gov/content/about/index.html|title=About Webb|publisher=NASA|date=2019|access-date=4 June 2021}} {{PD-notice}}</ref> ผู้รับเหมาหลักคือ[[นอร์ทธรอป กรัมแมน]]<ref>{{cite web |date=2017|title=James Webb Space Telescope|url=http://www.northropgrumman.com/Capabilities/JWST/Pages/default.aspx|access-date=31 January 2017|publisher=Northrop Grumman}}</ref> ตัวกล้องโทรทรรศน์ถูกตั้งชื่อตาม[[เจมส์ อี. เวบบ์]]<ref name="NAT-20210-723">{{cite journal|last=Witze|first=Alexndra|title=NASA investigates renaming James Webb telescope after anti-LGBT+ claims—Some astronomers argue the flagship observatory—successor to the Hubble Space Telescope—will memorialize discrimination. Others are waiting for more evidence.|url=https://www.nature.com/articles/d41586-021-02010-x|date=23 July 2021|journal=Nature|volume=596 |issue=7870|pages=15–16|doi=10.1038/d41586-021-02010-x|pmid=34302150|s2cid=236212498|access-date=23 July 2021}}</ref> ซึ่งเป็นผู้บริหารองค์การนาซาตั้งแต่ปี 1961 ถึง 1968 และเป็นบุคคลสำคัญใน[[โครงการอะพอลโล]]<ref>{{cite web|url=http://sci.esa.int/science-e/www/object/index.cfm?fobjectid=33148|archive-url=https://web.archive.org/web/20030821120829/http://sci.esa.int/science-e/www/object/index.cfm?fobjectid=33148|url-status=dead|archive-date=21 August 2003|title=ESA JWST Timeline|access-date=13 January 2012}} {{PD-notice}}</ref><ref name="jwst NASA">{{cite web|last=During|first=John|title=The James Webb Space Telescope|url=https://www.jwst.nasa.gov/|publisher=NASA|access-date=31 December 2011}} {{PD-notice}}</ref>
บรรทัด 98:
กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินจะต้องสังเกตการณ์ผ่านชั้นบรรยากาศของโลก ถึงบดบังคลื่นอินฟราเรดหลายช่วง และแม้ในช่วงคลื่นที่ชั้นบรรยากาศไม่บดบัง สารเคมีเป้าหมายหลายชนิดเช่น น้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ และมีเทน ก็มีอยู่แล้วใน[[บรรยากาศของโลก]] ทำให้การวิเคราะห์ผลลับซับซ้อนขึ้นไปมาก กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่มีอยู่ในปัจจุบันเช่น ฮับเบิล ก็ไม่สามารถศึกษาคลื่นช่วงนี้ได้ เนื่องจากกระจกของมันถูกรักษาไว้ในอุณหภูมิที่ต่ำไม่พอ (กระจกสะท้อนหลักของฮับเบิลถูกรักษาไว้ที่อุณหภูมิประมาณ {{cvt|15|C|K F|0}}) ตัวกล้องโทรทรรศน์เองจึงเปล่งคลื่นอินฟราเรดอย่างรุนแรง<ref name="ipac.caltech.edu"/>
 
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์จะทำงานใกล้จุดลากรองจ์ที่ลากร็องฌ์ที่ 2 ระหว่างโลก-ดวงอาทิตย์ ประมาณ {{cvt|1500000|km}} ห่างจากวงโคจรของโลก เปรียบเทียบกับวงโคจรของฮับเบิลซึ่งอยู่ {{cvt|550|km}} เหนือพื้นโลก และดวงจันทร์โคจรอยู่ห่างจากโลกประมาณ {{cvt|400000|km}} จากโลก ด้วยระยะทางที่ห่างไกลเท่านี้จะทำให้การซ่อมหลังการปล่อยหรือต่อเติมยกระดับส่วนเครื่องของเจมส์ เวบบ์ แทบจะเป็นไปไม่ได้ ตัวยานอวกาศจึงจะสามารถเข้าถึงได้เฉพาะในช่วงการสร้างและออกแบบเท่านั้น วัตถุที่อยู่ใกล้จุดลากรองจ์ลากร็องฌ์นี้สามารถโคจรดวงอาทิตย์ไปพร้อมกับโลก ทำให้ตัวกล้องโทรทรรศน์มีระยะห่างคงที่โดยประมาณ<ref name="stsci.edu">{{cite web |url=http://www.stsci.edu/jwst/overview/design/orbit|archive-url=https://wayback.archive-it.org/all/20140203174537/http://www.stsci.edu/jwst/overview/design/orbit|url-status=dead|archive-date=3 February 2014 |title=L2 Orbit|publisher=Space Telescope Science Institute|access-date=28 August 2016}}</ref> เจมส์ เวบบ์จะหันฉากกันแสงอาทิตย์และบัสเข้าสู่โลกและดวงอาทิตย์เพื่อสะท้อนแสงและความร้อนที่แผ่จากโลกและดวงอาทิตย์ และรักษาการสื่อสาร การเรียงตัวแนวนี้จะรักษาอุณหภูมิของยานอวกาศในอยู่ต่ำกว่า {{cvt|50|K|0}} ซึ่งจำเป็นจำหรับการสังเกตการณ์คลื่นอินฟราเรด<ref name=nasasunshield>{{cite web|title=The Sunshield|url=http://www.jwst.nasa.gov/sunshield.html|website=nasa.gov |publisher=NASA|access-date=28 August 2016}} {{PD-notice}}</ref><ref>{{cite web |url=http://news.nationalgeographic.com/2015/04/150423-hubble-anniversary-webb-telescope-space|title=Hubble Still Wows At 25, But Wait Till You See What's Next|publisher=National Geographic|author=Drake, Nadia |date=24 April 2015}}</ref>
 
<gallery align="center" mode="packed" heights="200px">