ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวนป่าเบญจกิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มแม่แบบแจ้งลบ เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลบ|แจ้งขาดความสำคัญเกิน 6 เดือนโดยไม่มีการแก้ไข}}
{{ขาดความสำคัญ|date=มีนาคม 2021}}
{{ระวังสับสน|สวนเบญจกิติ}}
[[ไฟล์:VTR benjakiti .mp4 snapshot 07.31.800.jpg|center|thumb|400x400px|แบบการก่อสร้างสวนป่าเบญจกิติ]]
{{กล่องข้อมูล สวน
[[ไฟล์:VTR benjakiti .mp4 snapshot 01.45.360.jpg|thumb|600x600px|พื้นที่การยาสูบแห่งประเทศไทยก่อนสร้างสวนป่าฯ]]
|name=สวนป่าเบญจกิติ
สวนป่าเบญจกิติมีเนื้อที่รวมทั้งหมดประมาณ 300 ไร่ ที่ได้รับมอบจากการยาสูบแห่งประเทศไทย พร้อมงบประมาณในการจัดสร้าง วงเงิน 950 ล้านบาทจากการยาสูบแห่งประเทศไทย มีแนวคิดการในออกแบบให้ มีสภาพเป็นสวนป่าที่เรียบง่ายเป็นธรรมชาติ ด้วยการเป็นสวนป่าสำหรับคนเมือง (Uban Forest) ที่เชื่อมโยงและเอื้อต่อการเข้ามาทำกิจกรรมและใช้ประโยชน์ในวิถีชีวิตของคนเมือง เป็นศูนย์เรียนรู้มีชีวิต ที่สร้างความผูกพันและสำนึกรักในคุณค่าของป่า น้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่การมีส่วนร่วมและสำนึกหวงแหนดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ ในการออกแบบเน้นให้มีพื้นที่สวนป่ามากที่สุด มีการปลูกต้นไม้ใหญ่ ต้นไม้พุ่ม ไม้คลุมดิน ไม้น้ำ หลากหลายชนิดพันธุ์ มีงานสร้าง อัฒจันทน์ ทางเดินลอยฟ้า ทางวิ่ง ทางจักรยาน และทางเดินโดยรอบโครงการ โดยให้มีสิ่งปลูกสร้างที่เหมาะสมและกลมกลืนกับความเป็นสวนสาธารณะในเมือง นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงอาคารเดิม (อาคารโกดังเดิม อาคารพิพิธภัณฑ์ และอาคาร Pavilion) ให้สามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์แบบและตรงตามวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างโครงการฯ
|image=
[[หมวดหมู่:สวนป่า]]
|caption=
|type=สวนสาธารณะระดับย่าน
|location=[[ถนนรัชดาภิเษก]] แขวงคลองเตย [[เขตคลองเตย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|size= 320 ไร่
|opened= {{bulleted list|
| 20 ธันวาคม พ.ศ. 2565 (เปิดให้เช้าชมเฟส 1 ทั้งหมด และเฟส 2 -3 บางส่วน)
| 12 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (อย่างเป็นทางการ)<ref name="springnews.co.th"></ref>
}}
|operator={{icon_name_bma}}
|status=05.00 - 20.00 น. ทุกวัน<ref name="springnews.co.th">{{cite web |title=‘สวนป่าเบญจกิติ’ สวนป่าใจกลางเมือง เปิดให้บริการแล้ว |url=https://www.springnews.co.th/photo-story/819247 |website=springnews.co.th |publisher=สปริงนิวส์ |accessdate=1 January 2022}}</ref>
|map=
|map_caption=
|latitude=
|longtitude=
| publictransit = {{BTS Lines|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}} [[สถานีอโศก]] <br> {{BTS Lines|น้ำเงิน}} [[สถานีสุขุมวิท]]
}}
 
'''สวนป่าเบญจกิติ''' ({{lang-en|Benchakitti Forest Park}}) เป็น[[สวนสาธารณะ|สวนสาธารณะระดับย่าน]] ขนาด 320 ไร่ ตั้งอยู่ที่ [[ถนนรัชดาภิเษก]] แขวงคลองเตย [[เขตคลองเตย]] [[กรุงเทพมหานคร]] โดยอยู่ในบริเวณพื้นที่[[โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง|โรงงานยาสูบ]]เดิม ติดต่อกับ[[สวนเบญจกิติ]]ทางฝั่งตะวันออก สวนป่าเบญจกิติถือเป็นโครงการสวนสาธารณะระยะต่อเนื่องจากสวนเบญจกิติที่ยึดแนวคิดของ "สวนน้ำ" ส่วนสวนป่าเบญจกิติยึดแนวคิดของ "ส่วนป่า" (urban forest)<ref name="timeout.com">{{cite web |last1=Panomai |first1=Suriyan |title=In pictures: สวนป่าเบญจกิติ จากอดีตโรงงานยาสูบสู่พื้นที่สีเขียวกลางเมืองที่เป็นมิตรกับปอด |url=https://www.timeout.com/bangkok/th/news/benjakitti-park-expansion-111221 |website=timeout.com |publisher=Time Out Bangkok |accessdate=1 January 2022}}</ref> หากรวมพื้นที่หมดจะมีเนื้อที่รวมประมาณ 450 ไร่
 
สวนป่าเบญจกิติ ได้วางแผนการดำเนินงานไว้ 3 ระยะ ระยะที่ 1 มีเนื้อที่ประมาณ 61 ไร่ เน้นการปลูกพันธ์ไม้ไทยหายาก ระยะที่ 2 และ 3 มีเนื้อที่ประมาณ 259 ไร่ เน้นแนวคิดพื้นที่ทางธรรมชาติ พื้นที่เส้นทาง และพื้นที่อาคารเดิม สวนป่าเบญจกิติได้รับการออกแบบโดยทีมงาน[[ภูมิสถาปนิก]] บริษัทสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม อาศรมศิลป์ จํากัด และบริษัท ฉมา จำกัด<ref name="mgronline.com">{{cite web |last1=ยามะรัต |first1=พงศ์พรหม |title=เผยภาพคืบหน้า “สวนป่าเบญจกิติ” เฟส 2-3 ใหญ่ระดับอาเซียนใจกลางกรุง |url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9640000025670 |website=mgronline.com |publisher=ผู้จัดการออนไลน์ |accessdate=1 January 2022}}</ref> นอกจากนี้ยังมีศาสตราจารย์อวี้ข่งเจี้ยน (Kongjian Yu) จากทูเรนแลนด์สเคป (Turenlandscape) ภูมิสถาปนิกเจ้าของแนวคิดเมืองพรุนน้ำ (sponge city) มาร่วมให้คำปรึกษาในส่วนแนวคิดการออกแบบ ซึ่งสวนป่าเบญจกิตินำแนวคิดเรื่องของเมืองพรุนน้ำมาใช้ในการออกแบบในภาพรวมเฟส 2 และ 3 ทั้งการใช้บึงรับน้ำขนาดใหญ่จำนวน 4 บึง มีจุดเด่นคือเกาะต้นไม้ทรงกลม เพื่อการกักเก็บน้ำและหน่วงน้ำ การทำสวนฝน (rain garden) ตลอดเส้นทางสัญจรในโครงการ โดยทั้งหมดใช้พืชพรรท้องถิ่นตามธรรมชาติ ไม่เน้นการตัดแต่งเพื่อให้คงแนวคิดสวนป่าตามนิเวศธรรมชาติเดิมให้มากที่สุด สวนป่าเบญจกิติยังถือเป็นสวนขนาดใหญ่แห่งแรก ๆ ในกรุงเทพมหานครที่นำแนวคิดการออกแบบภายใต้การแก้ปัญหาที่อาศัยธรรมชาติเป็นพื้นฐาน (Nature-based Solution) เข้ามาในการออกแบบ คล้ายคลึงกับแนวคิดของ[[อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
 
สวนป่าเบญจกิติ ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2559 และได้เปิดให้เข้าชมพื้นที่บริเวณสวนป่าในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 และจะเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2565 โดยกระทรวงการคลัง กรมธนารักษ์ เป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการจัดสร้างและการยาสูบแห่งประเทศไทยเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง<ref name="bangkokbiznews.com">{{cite web |title=นายกฯร่วมส่งมอบสวนป่า “เบญจกิติ”ระหว่างกองทัพบก​ ธนารักษ์​และกรุงเทพ​ |url=https://www.bangkokbiznews.com/news/977775 |website=bangkokbiznews.com |publisher=กรุงเทพธุรกิจ |accessdate=1 January 2022}}</ref> ภายในสวนประกอบด้วยพันธ์ไม้เดิม 1,733 ต้น และต้นไม้ที่ลงใหม่ 7,155 ต้น หลากหลายชนิดพันธุ์ มีอัฒจันทน์ขนาดใหญ่ลองรับกิจกรรมกลางแจ้ง ทางเดินลอยฟ้าระยะ 1.6 กิโลเมตร ทางวิ่ง ทางจักรยาน และทางเดินโดยรอบโครงการ นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงอาคารเดิม ได้แก่ อาคารโกดังเดิม อาคารพิพิธภัณฑ์ และอาคาร ศาลาสำหรับกีฬาในร่ม และพิพิธภัณฑ์
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:สวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:สวนป่าเขตคลองเตย]]
{{สร้างปี|2559}}