ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักข่าวไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Soponwit Sangsai (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน 5 การแก้ไขของ 119.76.129.247 (พูดคุย) ไปยังการแก้ไขของ Just Sayori ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 26:
|-
| '''ข่าวเช้าสำนักข่าวไทย'''
| (จ.-ศ.) 06:30 - 07:5045 น.
|-
| '''เจาะลึกทั่วไทย'''
บรรทัด 35:
|-
| '''ข่าวเที่ยงสำนักข่าวไทย'''
| (จ.-ศ.) 11:3025 - 12:5025 น.
|-
| '''คู่ข่าวเสาร์-อาทิตย์'''
| (ส.-อา.) 11:30 - 1213:5000 น.
|-
| '''คุยโขมงบ่ายสามโมง'''
บรรทัด 47:
|-
| '''ข่าวค่ำสำนักข่าวไทย'''
| (จ.-ส.) 19:00 - 20:5035 น.<br>(อา.) 19:00 - 20:30 น.
|-
| '''เรื่องง่ายใกล้ตัว'''
| (จ.-ศ.) 20:5055 - 21:0005 น.
|-
| '''ฟังหูไว้หู'''
| (จ.-ศ.) 21:05 - 21:35 น.
|-
| '''คับข่าวครบประเด็น'''
| (จ.-ศ.) 21:3035 - 22:20 น.
|-
| '''ข่าวต้นชั่วโมง'''
เส้น 110 ⟶ 113:
===ข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์===
เป็นเทคโนโลยี การนำเสนอข่าวในรูปแบบตัวอักษรบนหน้าจอทีวี เรียกว่า Teletext ในรายการ ข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะออกอากาศในช่วงบ่าย เวลา 13.00 - 15.00 น. ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2520 - 2538 รูปแบบการออกอากาศ จะแสดงหัวข้อข่าว และ เนื้อหาของข่าว ขึ้นหน้าจอทีวี พื้นหลังสีน้ำเงิน และ แถบสีแดงข้างล่าง แสดงข้อความรณรงค์ หรือ คำขวัญประจำรายการ
 
=== แถบอักษรข่าววิ่ง ===
[[ไฟล์:MCOT News Ticker.jpg|300px|thumb|การแสดง'''แถบตัวอักษรข่าววิ่ง'''ของ[[สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์]]]]
 
เป็นเทคโนโลยี การนำเสนอเนื้อหาข่าวอย่างสั้น ในรูปแบบอักษรวิ่ง โดยนับเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของไทย ที่นำเสนอในลักษณะดังกล่าว<!--เนชั่นแชนแนลเป็นประโยคข่าวจบในหนึ่งหน้าจอ--> โดยตั้งแต่ปลายปี [[พ.ศ. 2545]] ข่าวที่อยู่ในแถบ จะแสดงต่อเนื่องกัน โดยแต่ละข่าวจะเว้นช่องว่างเป็นช่วงกว้าง ต่อมาเปลี่ยนเป็นใช้ตราสัญลักษณ์ สขท.คั่นระหว่างข่าว และเพิ่มตัวอักษร "สำนักข่าวไทย" บนแถบฝั่งซ้ายมือ โดยให้อักษรวิ่งหายเข้าไปในแถบดังกล่าว ครั้งหลังสุด เปลี่ยนรูปแบบเป็น แสดงครั้งละหนึ่งข่าว ตั้งแต่วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2552
 
เส้น 138 ⟶ 145:
 
=== ภาษามือ ===
 
== ปุจฉา-วิสัชนา ==
[[ไฟล์:MCOT Putcha Wisatchana Front Cover.png|thumb|300px|right|หน้าปกหนังสือปุจฉา-วิสัชนา ของ '''[[ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]]]]
ช่วง '''[[ปุจฉา-วิสัชนา]]''' ออกอากาศคั่นระหว่างข่าวภาคค่ำทาง[[ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] กับภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์, วันละสองชุดคำถามและคำตอบ, โดยแบ่งเป็นสองช่วง เริ่มแพร่ภาพเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2536]] จนถึงราวปี [[พ.ศ. 2539]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2557]] มีการเผยแพร่ข้อมูลในลักษณะเดียวกัน ผ่านทาง'''[[สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์น เรดิโอ|สถานีวิทยุ อสมท]] เอฟเอ็ม 95.0 เมกะเฮิร์ตซ์''' ''[[ลูกทุ่งมหานคร]]'' ก่อนและหลังเวลา เข้าสู่ข่าวต้นชั่วโมง หรือหลังจากบรรเลง'''เพลงประจำสถานีฯ'''
 
== ไตเติ้ลเปิดรายการข่าว ==
{{โครงส่วน}}
== เพลงประกอบรายการข่าว ==
{{listen
| filename = ไตเติ้ลข่าวช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ปี 2533 - 2545.ogg
| title = ไตเติ้ลข่าวช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ปี 2538 - 2545
}}
*พ.ศ. 2520-2524 เพลงมาร์ช (ไม่ทราบชื่อ)
*พ.ศ. 2524-2538 เพลงซิมโฟนี (ข่าวร่วม ช่อง 3 และ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ปัจจุบันเป็นเพลงประกอบรายการ ก้าวทันข่าว ของโมเดิร์นเรดิโอ)
*พ.ศ. 2530-ไม่ทราบข้อมูล เพลงประกอบชุด Tar Sequence (แบบที่ใช้โดยสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 ประเทศออสเตรเลีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2526 จนถึง พ.ศ. 2543) (ใช้ในช่วงข่าวทันโลก)
*พ.ศ. 2538-2545 เพลงของ บรูซ แกสตัน และวงฟองน้ำ (ไม่ทราบชื่อ; ปัจจุบัน ใช้เป็นเพลงเปิด รายงานข่าวต้นชั่วโมง ของโมเดิร์นเรดิโอ)
*พ.ศ. 2538-2545 เพลงเขมรคราม ของ บรูซ แกสตัน และวงฟองน้ำ เป็นเพลงปิดรายการรายงานข่าว 9 อ.ส.ม.ท.ภาคค่ำ
*พ.ศ. 2545-2550 เพลงที่ สขท.จัดทำเอง (ไม่ทราบชื่อ)
*พ.ศ. 2550-2552 เพลงที่ สขท.จัดทำเอง (ไม่ทราบชื่อ)
*พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน เพลงที่ สขท.จัดทำเอง (ไม่ทราบชื่อ)
*พ.ศ. 2554-2555 เพลงประกอบชุด Nightly ของ Opuzz (ใช้ในช่วงข่าวเที่ยงคืน) Corporate Headlines ของ Opuzz(ใช้ในช่วงข่าวด่วนและรายงานพิเศษ)
*พ.ศ. 2557-2560 เพลงประกอบจากสถานีโทรทัศน์ [[N24 (เยอรมนี)|N24]] [[ประเทศเยอรมนี]] (ใช้ในช่วง 9 Speed)
*พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน เพลงประกอบจากสถานีโทรทัศน์ [[เตแอฟอัน|TF1]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] (ใช้เป็นเพลงประกอบตราสัญลักษณ์ของสำนักข่าวไทยช่วงจบรายการข่าวทุกช่วง และสปอตแนะนำประเด็นข่าวที่จะเสนอในข่าวภาคค่ำประจำวัน)
*พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน เพลงประกอบจากสถานีโทรทัศน์ [[อาร์ทีแอล 4|RTL 4]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] (ใช้ในช่วงรอบวันข่าว)
*พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน เพลงประกอบจากสถานีโทรทัศน์ [[France 2]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] (ใช้ในช่วงข่าวต้นชั่วโมง)
 
== ความร่วมมือกับสำนักข่าวต่างประเทศ ==
สำนักข่าวไทย ขยายความร่วมมือกับสำนักข่าว และสื่อต่างประเทศสำคัญๆ ของโลก เป็นจำนวนมาก ได้แก่