ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริติชราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 51:
| leader5 = [[พระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 6]]
| year_leader5 = 1936–1947
| title_representative = [[ผู้สำเร็จราชการอินเดีย|อุปราชและผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์]]{{sup|ค}}
| representative1 = [[Charles Canning, 1st Earl Canning|ชาลส์ แคนนิง]]
| year_representative1 = 1858–1862 {{small| (คนแรก)}}
บรรทัด 77:
}}
| footnote_a = ตำแหน่งในช่วง 1876–1948.
| footnote_c = ชื่อตำแหน่งเต็มคือ "อุปราชและผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย (Viceroy and Governor-General of India)"
}}
'''บริติชราช''' ({{lang-en|British Raj}}; {{lang-hi|ब्रिटिश राज}}) หรือ '''อินเดีย''' หมายถึงการปกครองโดย[[ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร|พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]]ใน[[อนุทวีปอินเดีย]]ระหว่างปี ค.ศ. 1858 ถึง 1947 ซึ่งบางครั้งก็รู้จักในชื่อ '''การปกครองโดยตรงในอินเดีย''' ({{lang-en|Direct rule in India}}) ประกอบด้วยการปกครองสองรูปแบบ คือ ดินแดนที่ปกครองโดยเจ้าพื้นเมือง กับดินแดนที่ปกครองโดยรัฐบาลกลางที่ถูกเรียกว่า '''บริติชอินเดีย''' แต่ไม่ว่าจะปกครองแบบไหน ดินแดนทั้งหมดล้วนอยู่ในบังคับของสหราชอาณาจักร ด้วยการปกครองแบบสหภาพนี้ ทำให้ในทางการเมืองมักจะเรียกอนุทวีปอินเดียของสหราชอาณาจักรว่า '''จักรวรรดิอินเดีย''' ซึ่งชื่อดังกล่าวปรากฏบนหนังสือเดินทางตั้งแต่ปี 1876
 
ก่อนหน้ายุคบริติชราช อังกฤษได้ปกครองบรรดาดินแดนในอนุทวีปอินเดียผ่าน[[บริษัทอินเดียตะวันออก]]กว่าร้อยปี ซึ่งบริษัทนี้มีกองเรือและกองทหารเป็นของตนเอง การปกครองโดยบริษัทฯได้สิ้นสุดลงเมื่อมีการตรา[[พระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858]] ขึ้น ในการนี้ [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]]ได้สถาปนาพระองค์เป็นจักรพรรดินีนาถแห่งอินเดีย ทรงส่งขุนนางไปปกครองอินเดียในตำแหน่งอุปราชและผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์ ต่อมาภายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ก็ได้มีการแบ่งอินเดียแบ่งออกเป็นสอง[[ประเทศในเครือจักรภพ]]คือ[[ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ|อินเดีย]] (ประเทศอินเดียในปัจจุบัน) และ[[ประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ|ปากีสถาน]] ([[ประเทศปากีสถาน]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]]ในปัจจุบัน) ส่วน[[พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร|พม่า]]นั้นได้แยกตัวออกจากรัฐบาลบริติชอินเดียในปี ค.ศ. 1937 และถูกปกครองโดยตรงจากรัฐบาลสหราชอาณาจักรตั้งแต่บัดนั้น
 
บริติชราชประกอบไปด้วยดินแดนที่เป็นประเทศอินเดียและบังกลาเทศในปัจจุบัน อีกทั้งยังมี[[เอเดน]] (1839-1937), [[พม่าตอนบน]] (1858-1937), และ[[พม่าตอนล่าง]] (1886-1937), [[โซมาลิแลนด์ของบริเตน]] (1884-98), [[รัฐทรูเชียล]] (1820-1947), และ [[สิงคโปร์]] (1858-67) นอกจากนี้ บริติชราชยังมีเขตอำนาจถึงดินแดนในปกครองอังกฤษในตะวันออกกลาง เงินตรารูปีอินเดียใช้กันอย่างแพร่หลายในอนุทวีปอินเดีย อย่างไรก็ตาม ในบรรดาดินแดนในบังคับของอังกฤษเหล่านี้ [[บริติชซีลอน]] หรือศรีลังกาในยุคสหราชอณาจักร มีฐานะเป็น[[คราวน์โคโลนี]]ที่ไม่ขึ้นกับรัฐบาลอุปราชแห่งอินเดีย
บรรทัด 92:
อินเดียในยุคของบริติชราช ประกอบด้วยดินแดนสองประเภท คือ ''บริติชอินเดีย'' ปกครองและบริหารโดยรัฐบาลกลาง กับ ''รัฐพื้นเมือง ([[รัฐมหาราชา]]) '' ปกครองโดยเจ้าอินเดียแต่บริหารโดยรัฐบาลกลาง ทั้งนี้ในมาตรา 18 ของพระราชบัญญัติจำกัดความ ค.ศ. 1889 (Interpretation Act) บัญญัติไว้ว่า:
<blockquote>
:(4.) คำว่า "บริติชอินเดีย" นั้นหมายถึงดินแดนและสถานที่ทั้งปวงในแผ่นดินแว่นแคว้นในสมเด็จฯ ซึ่งขณะนี้อยู่ในปกครองโดยสมเด็จฯผ่านทางผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย หรือผ่านข้าหลวงหรือเจ้าพนักงานอื่นใดอันขึ้นกับผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย<br />
:(5.) คำว่า "อินเดีย" นั้นหมายถึงบริติชอินเดียพร้อมด้วยดินแดนของบรรดาเจ้าหรือผู้นำพื้นเมืองภายใต้พระราชอำนาจในสมเด็จฯ ซึ่งทรงบริหารผ่านผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย หรือผ่านข้าหลวงหรือเจ้าพนักงานอื่นใดอันขึ้นกับผู้สำเร็จราชการข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย<ref name="Interpretation Act 1889">Interpretation Act 1889 (52 & 53 Vict. c.&nbsp;63), s.&nbsp;18.</ref>
</blockquote>
 
บรรทัด 147:
ไฟล์:British Raj Red Ensign.svg|ธงจักรวรรดิอินเดีย เป็นธงอย่างไม่เป็นทางการ
ไฟล์:Flag of Imperial India.svg|ธงนาวี
ไฟล์:Flag of the Governor-General of India (1885–1947).svg|ธงผู้สำเร็จราชการอินเดียข้าหลวงต่างพระองค์
</gallery>
</center>