ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลศาสตร์ควอนตัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rumor Tray (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วน แนวคิดพื้นฐาน
Rumor Tray (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มการอ้างอิงและจัดเรียงประโยคใหม่ในส่วนแนวคิดพื้นฐาน
บรรทัด 12:
 
== แนวคิดพื้นฐาน ==
กลศาสตร์ควอนตัมบรรยายระบบทางฟิสิกส์ผ่านฟังก์ชันคลื่น โดยทั่วไป ฟังก์ชันคลื่นจะบรรยายการกระจายตัวทางสถิติของระบบทางฟิสิกส์ สถานะทางฟิสิกส์ที่สามารถทำนายได้อย่างแน่นอน (deterministic) ในกลศาสตร์แบบคลาสสิกจะถูกบรรยายในเชิงความน่าจะเป็น (probabilistic) แทนในกลศาสตร์ควอนตัม การทดลองที่มีค่าตั้งต้นเหมือนกันไม่จำเป็นต้องได้ผลการวัดในแต่ละครั้งเท่ากัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ระบบทางควอนตัมจะยังไม่มีสถานะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งเว้นเสียแต่ว่าจะมีการวัดเกิดขึ้น โดยทั่วไป การกระจายตัวทางสถิติของผลการวัดจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับฟังก์ชันคลื่นของระบบทางฟิสิกส์นั้น ๆ <ref>{{Cite book|last=Griffiths|first=David J.|url=https://www.cambridge.org/core/product/identifier/9781316995433/type/book|title=Introduction to Quantum Mechanics|last2=Schroeter|first2=Darrell F.|date=2018-08-16|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-1-316-99543-3|edition=3|doi=10.1017/9781316995433}}</ref>
 
อย่างไรก็ตาม ระบบทางควอนตัมมีความแตกต่างจากระบบสุ่มแบบคลาสสิก<ref>{{Cite journal|last=Bell|first=J. S.|date=1964-11-01|title=On the Einstein Podolsky Rosen paradox|url=https://link.aps.org/doi/10.1103/PhysicsPhysiqueFizika.1.195|journal=Physics Physique Fizika|volume=1|issue=3|pages=195–200|doi=10.1103/PhysicsPhysiqueFizika.1.195}}</ref> ตัวอย่างของในความแตกต่างที่สำคัญคือการพัวพันทางควอนตัม และการแทรกสอด
 
== สูตรการแผ่รังสีของวัตถุดำ ==