ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคประชาธรรมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
}}
 
'''พรรคประชาธรรมไทย''' พรรคการเมืองของไทยที่ได้ยื่นจดจองชื่อพรรคต่อ [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] หรือ กกต. เป็นลำดับที่ 53/2561 เมื่อวันศุกร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยมีนาย [[พิเชษฐ สถิรชวาล]] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม, อดีตผู้อำนวยการ [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] หรือ ขสมก., อดีตเลขาธิการ [[คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย]] และอดีตผู้แทนการค้าไทย เป็นผู้ยื่นคำร้องขอ <ref> http://www.matichon.co.th/news/869717 </ref> และเคยได้รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในปี 2562 จำนวน 1 ที่นั่ง
 
== ประวัติ ==
กระทั่งวันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561 ทางพรรคประชาธรรมไทยได้รับหนังสือรับจดแจ้งจัดตั้งพรรคจากทาง พ.ต.อ. จรุงวิทย์ ภุมมา เลขาธิการ กกต. และนายทะเบียนพรรคการเมืองซึ่งขณะนั้นยังเป็น รักษาการเลขาธิการ กกต. และรักษาการนายทะเบียนพรรคการเมืองเพื่อเตรียมการจดทะเบียนจัดตั้งพรรคอย่างเป็นทางการต่อไปพร้อมกับ [[พรรคอนาคตใหม่]] และพรรคการเมืองอีก 3 พรรค <ref> http://www.sanook.com/news/6130126 </ref>
พรรคประชาธรรมไทย ได้รับหนังสือรับจดแจ้งจัดตั้งพรรคจาก กกต. และนายทะเบียนพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561 ต่อมาในวันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ทางพรรคได้จัดประชุมใหญ่สามัญครั้งที่ 1 ที่ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ เพื่อรับรองระเบียบ ข้อบังคับ อุดมการณ์และนโยบายของพรรครวมถึงเพื่อทำการเลือกหัวหน้าพรรค เลขาธิการพรรคและคณะกรรมการบริหารพรรคโดยในงานได้มีนักร้องลูกทุ่ง นักแสดง และนักแต่งเพลงลูกทุ่งเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกพรรคเช่น [[รังษี เสรีชัย]], [[ไกรลาศ เกรียงไกร]], [[รุ่งเพชร แหลมสิงห์]] และ ณพนรรจ์ ขวัญประภา ผู้แต่งเพลงเสียความรู้สึกและเพลงสายัณห์​ขายใจเป็นต้นโดยผลการเลือกตั้งปรากฏว่านาย พิเชษฐ ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ส่วนนาย ปณชัย แดงอร่าม เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก <ref> http://www.thaipost.net/main/detail/8636 </ref> และได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งพรรคต่อ กกต. เมื่อวันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 <ref> http://www.komchadluek.net/news/politic/327443 </ref> แต่ในเวลาต่อมาทางพรรคได้ถอนคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคหลังจากคณะกรรมการบริหารพรรคจำนวน 6 คนได้ขอลาออกจากตำแหน่งและสมาชิกพรรคประชาธรรมไทย โดยได้มีการยื่นจดทะเบียนจัดตั้งพรรคเป็นครั้งที่ 2 ต่อ กกต. เมื่อวันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2561
 
กระทั่งวันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ในการประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง ครั้งที่ ๕๘58/๒๕๖๑2561 (๒๒22) ที่ประชุมมีมติรับจดทะเบียนจัดตั้งพรรคประชาธรรมไทย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/D/095/T_0488.PDF ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง รับจดทะเบียนจัดตั้งพรรคประชาธรรมไทย]</ref> ต่อมาในการประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคประชาธรรมไทยเมื่อวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคได้มีมติให้ยุบเลิกพรรคและได้ยื่นเรื่องการยุบเลิกพรรคไปยัง กกต. ซึ่งทาง กกต. ก็อนุมัติรับรองการยุบเลิกพรรคแล้วเหลือเพียงแค่การประกาศลง [[ราชกิจจานุเบกษา]] เท่านั้น ซึ่ง นายพิเชษฐ์ ได้ให้สัมภาษณ์ว่าเตรียมย้ายไปสังกัด [[พรรคพลังประชารัฐ]] ตามรอยนาย [[ไพบูลย์ นิติตะวัน]] อดีตหัวหน้า [[พรรคประชาชนปฏิรูป]] และพลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ อดีตหัวหน้า [[พรรคประชานิยม]] ที่ยุบเลิกพรรคและย้ายมาสังกัดพรรคพลังประชารัฐ<ref>[https://www.khaosod.co.th/politics/news_6689874 "ประชาธรรมไทย" ยุบพรรคเรียบร้อย ตามรอย "ไพบูลย์โมเดล" เตรียมย้ายซบ พปชร.]</ref>
ต่อมาในวันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ทางพรรคได้จัดประชุมใหญ่สามัญครั้งที่ 1 ที่ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ เพื่อรับรองระเบียบ ข้อบังคับ อุดมการณ์และนโยบายของพรรครวมถึงเพื่อทำการเลือกหัวหน้าพรรค เลขาธิการพรรคและคณะกรรมการบริหารพรรคโดยในงานได้มีนักร้องลูกทุ่ง นักแสดง และนักแต่งเพลงลูกทุ่งเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกพรรคเช่น [[รังษี เสรีชัย]], [[ไกรลาศ เกรียงไกร]], [[รุ่งเพชร แหลมสิงห์]] และ ณพนรรจ์ ขวัญประภา ผู้แต่งเพลงเสียความรู้สึกและเพลงสายัณห์​ขายใจเป็นต้นโดยผลการเลือกตั้งปรากฏว่านาย พิเชษฐ ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรคคนแรกส่วนนาย ปณชัย แดงอร่าม เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก <ref> http://www.thaipost.net/main/detail/8636 </ref> และได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งพรรคต่อ กกต. เมื่อวันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 <ref> http://www.komchadluek.net/news/politic/327443 </ref> แต่ในเวลาต่อมาทางพรรคได้ถอนคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคหลังจากคณะกรรมการบริหารพรรคจำนวน 6 คนได้ขอลาออกจากตำแหน่งและสมาชิกพรรคประชาธรรมไทย โดยได้มีการยื่นจดทะเบียนจัดตั้งพรรคเป็นครั้งที่ 2 ต่อ กกต. เมื่อวันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2561
 
กระทั่งวันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ในการประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง ครั้งที่ ๕๘/๒๕๖๑ (๒๒) ที่ประชุมมีมติรับจดทะเบียนจัดตั้งพรรคประชาธรรมไทย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/D/095/T_0488.PDF ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง รับจดทะเบียนจัดตั้งพรรคประชาธรรมไทย]</ref> ต่อมาในการประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคประชาธรรมไทยเมื่อวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม ปี พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพรรคได้มีมติให้ยุบเลิกพรรคและได้ยื่นเรื่องการยุบเลิกพรรคไปยัง กกต. ซึ่งทาง กกต. ก็อนุมัติรับรองการยุบเลิกพรรคแล้วเหลือเพียงแค่การประกาศลง [[ราชกิจจานุเบกษา]] เท่านั้น ซึ่ง นายพิเชษฐ์ ได้ให้สัมภาษณ์ว่าเตรียมย้ายไปสังกัด [[พรรคพลังประชารัฐ]] ตามรอยนาย [[ไพบูลย์ นิติตะวัน]] อดีตหัวหน้า [[พรรคประชาชนปฏิรูป]] และพลตำรวจเอก ยงยุทธ เทพจำนงค์ อดีตหัวหน้า [[พรรคประชานิยม]] ที่ยุบเลิกพรรคและย้ายมาสังกัดพรรคพลังประชารัฐ
 
== คณะกรรมการบริหารพรรคประชาธรรมไทย ==
เส้น 117 ⟶ 116:
{{พรรคการเมืองไทย}}
 
[[หมวดหมู่:พรรคการเมืองไทยในอดีต|ป]]
[[หมวดหมู่:พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2561|ป]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธรรมไทย]]