ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระหริหระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Hari Hara (พระหริหระ).jpg|thumb|พระหริหระ จัดแสดงที่[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]]]
'''พระหริหระ''' ({{lang-sa|हरिहर}}, {{lang-en|Harihara}}) เป็น[[อวตาร]]รวมของ[[พระวิษณุ]] (หริ) และ[[พระศิวะ]] (หระ) เทพเจ้าใน[[ศาสนาฮินดู]] พระนามอื่น เช่น '''ศันกรนารายณ์''' (มาจาก "ศันกรศังกระ" คือพระศิวะ และ "นารายณ์" คือพระวิษณุ) และ '''พรหมนารายณ์''' ดังนั้นจึงพบการบูชาพระหริหระทั้งใน[[ลัทธิไวษณพ]]และ[[ลัทธิไศวะ]] ให้เป็นพระเป็นเจ้าสูงสุดองค์หนึ่ง
 
คำว่า "หริหระ" บางครั้งก็ใช้กล่าวถึงคำศัพท์ในเชิงปรัชญาที่แสดงถึงการรวมพระวิษณุและพระศิวะในมุมมองที่แตกต่างภายใต้ความสูงสุดเดียวกันคือ[[พรหมัน]] แนวคิดของหริหระจึงเทียบเคียงกับ "ความเป็นหนึ่งเดียวของสรรพสิ่ง" ในคัมภีร์ของ[[อทไวตะ เวทันตะปรัชญาฮินดู]] สำนัก[[ปรัชญาฮินดูAdvaita Vedanta|อทไวตะเวทานตะ]]หนึ่ง<ref>David Leeming (2001), A Dictionary of Asian Mythology, Oxford University Press, {{ISBN|978-0195120530}}, page 67</ref>
 
เทวรูปที่เก่าแก่ที่สุดของพระหริหระ พบที่ถ้ำหมายเลข 1 และ 3 ของ[[ถ้ำพัทมี]] (Badami Cave Temples)|มนเทียรในถ้ำพทามี]] ซึ่งสร้างขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 6<ref>Alice Boner (1990), Principles of Composition in Hindu Sculpture: Cave Temple Period, Motilal Banarsidass, {{ISBN|978-8120807051}}, pages 89-95, 115-124, 174-184</ref><ref>TA Gopinatha Rao (1993), Elements of Hindu iconography, Vol 2, Motilal Banarsidass, {{ISBN|978-8120808775}}, pages 334-335</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==