ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กโตรเนกาทิวิตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อิเล็กโตรเนกาติวิตี''' ({{lang-en|electronegativity}}, ::<math>\chi</math>, สภาพไฟฟ้าลบ<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัญฑิตยสถาน ศัพท์วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๔๖)</ref>) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึง[[อิเล็กตรอน]]เข้าหาตัวเองเมื่อเกิด[[พันธะเคมี]] (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี [[ค.ศ. 1932]] [[มูลลิเกน สเกล]] (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี [[ค.ศ. 1934]] และ [[ออลล์เรด-โรโชสเกล]] (Allred-Rochow scale)
 
==การคำนวณความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีของ ''เพาลิง'' ระหว่างอะตอม A และอะตอม B==
 
 
::<math>\chi_{\rm A} - \chi_{\rm B} = ({\rm eV})^{-1/2} \sqrt{E_{\rm d}({\rm AB}) - [E_{\rm d}({\rm AA}) + E_{\rm d}({\rm BB})]/2}</math>
 
เมื่อ [[พลังงานพันธะ]], ''E''<sub>d</sub> ของพันธะ A–B, A–A และ B–B ในหน่วย [[อิเล็กตรอนโวลต์]], ค่า (eV)<sup>–½</sup> แสดงเพื่อเลี่ยงการพิจารณาหน่วย เช่น ความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีโดยเพาลิงระหว่างไฮโดรเจนและโบรมีน เท่ากับ 0.73 (พลังงานพันธะ: H–Br, 3.79&nbsp;eV; H–H, 4.52&nbsp;eV; Br–Br 2.00&nbsp;eV)
 
 
เมื่อ [[พลังงานพันธะ]], ''E''<sub>d</sub> ของพันธะ A–B, A–A และ B–B ในหน่วย [[อิเล็กตรอนโวลต์]], ค่า (eV)<sup>–½</sup> แสดงเพื่อเลี่ยงการพิจารณาหน่วย เช่น ความต่างของอิเล็กโทรเนกาทิวิตีโดยเพาลิงระหว่างไฮโดรเจนและโบรมีน เท่ากับ 0.73 (พลังงานพันธะ: H–Br, 3.79&nbsp;eV; H–H, 4.52&nbsp;eV; Br–Br 2.00&nbsp;eV)
 
== แนวโน้ม อิเล็กโตรเนกาทิวิตี ==