ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สรีดภงส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎งานค้นคว้า: มีคนมาป่วนบทความ
บรรทัด 50:
 
== งานค้นคว้า ==
จากการศึกษา<ref>[http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C สรีดภงส์]</ref> พบว่าแต่เดิมก่อนที่กรมชลประทานจะก่อสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำนั้น บริเวณนี้จะมีคันดินเตี้ย ๆ สูงประมาณ 1-2 เมตร ทอดยาวเป็นแนวขนานกันกับเขื่อนดินสร้างใหม่ของ[[กรมชลประทาน]]มีคำเรียกคันดินโบราคะคภคีภยโบราณนี้ว่า [[ทำนบพระร่วง]] แต่ลักษณะคันดินไม่สูงนักรวมทั้งมิได้มีสภาพการก่อสร้างที่แข็งแรงพอ จึงอาจที่จะวิเคราะห์ได้ว่า คันดินโบราณที่เรียกว่าทำนบพระร่วงนี้ มิได้ทำหน้าที่เป็นเขื่อนกักเก็บน้ำเหมือนกับเขื่อนดินที่[[กรมชลประทาน]]มาสร้างไว้ อาจจะทำหน้าที่เพียงเพื่อบังคับทิศทางของน้ำที่มีมากในฤดูฝน มิให้ไหลล้นไปในทิศทางอื่นที่มิใช่ทิศทางไปสู่เมือง[[สุโขทัย]]แต่จะทำหน้าที่เบนน้ำทั้งหมดที่ไหลมาจากเขาทั้งสองลูกนี้ให้ไหลลงไปในคลองเสาหอทั้งหมด เพื่อนำไปสู่คูเมือง[[สุโขทัย]]
 
นพคึพ​ต​พ
 
าภพนจณนี้ว่า [[ทำนบพระร่วง]] แต่ลักษณะคันดินไม่สูงนักรวมทั้งมิได้มีสภาพการก่อสร้างที่แข็งแรงพอ จึงอาจที่จะวิเคราะห์ได้ว่า คันดินโบราณที่เรียกว่าทำนบพระร่วงนี้ มิได้ทำหน้าที่เป็นเขื่อนกักเก็บน้ำเหมือนกับเขื่อนดินที่[[กรมชลประทาน]]มาสร้างไว้ อาจจะทำหน้าที่เพียงเพื่อบังคับทิศทางของน้ำที่มีมากในฤดูฝน มิให้ไหลล้นไปในทิศทางอื่นที่มิใช่ทิศทางไปสู่เมือง[[สุโขทัย]]แต่จะทำหน้าที่เบนน้ำทั้งหมดที่ไหลมาจากเขาทั้งสองลูกนี้ให้ไหลลงไปในคลองเสาหอทั้งหมด เพื่อนำไปสู่คูเมือง[[สุโขทัย]]
 
ทั้งนี้ แนวคันดินที่ทำหน้าที่เบี่ยงเบนทิศทางของน้ำให้ไหลไปตามทิศที่ต้องการซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับทำนบพระร่วงนั้น ถูกพบได้โดยทั่วไปบนพื้นที่ลาดเอียงรอบ ๆ เมืองเก่าสุโขทัย โดยพบมากที่สุดที่บริเวณเชิงเขาด้านทิศตะวันตกจรดทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวเมือง โดยที่ไม่ได้เรียกว่า[[ทำนบพระร่วง]]แต่อย่างใด เฉพาะคันดินเป็นแนวเชื่อมระหว่างเขาพระบาทใหญ่กับเขากิ่วอ้ายนี้ที่มีชื่อเรียกกันมาว่า "ทำนบพระร่วง" เพราะอาจเป็นคันดินแนวที่ชัดเจนที่สุดและถูกรู้จักมาช้านานก็เป็นได้ ทั้งนี้ ทำนบพระร่วงแห่งนี้ นักวิชาการหลายท่านได้เรียกชื่อเป็น [[สรีดภงส์]] ตามชื่อที่ปรากฏใน[[ศิลาจารึกหลักที่ 1]] (ศิลาจารึก[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]])