ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chiang999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chiang999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย|ชื่อ=สำนักวิชาแพทยศาสตร์</br>มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง|ชื่ออังกฤษ=School of Medicine,<br>Mae Fah Luang University|ภาพ=[[ไฟล์:MED_MFU.png|200px|ตราสัญลักษณ์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]|คณบดี=ศ.นพ.ศุภกร โรจนนินทร์<ref>[https://medicine.mfu.ac.th/medicine-about/medicine-staff/medicine-staff-executive.html/ รายนามผู้บริหารสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]</ref>|สีประจำคณะ={{color box|#006400}} สีเขียวใบไม้|สัญลักษณ์คณะ=งูพันคบเพลิง|ที่อยู่=333 หมู่ 1 ตำบลท่าสุด</br>[[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[จังหวัดเชียงราย]] [[รหัสไปรษณีย์ทั่วประเทศไทยเรียงตามจังหวัด|57100]]|เว็บ=[https://medicine.mfu.ac.th/medicine-home.html สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]|วารสารคณะ=[https://he02.tci-thaijo.org/index.php/gmsmj?fbclid=IwAR1teeeh1WWgvND_13RNYUu5MCyzWd8YhzoDJQ0Iwe8jqTpK_ajnITOO2rs วารสารสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]|สถานปฏิบัติการ=[[โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] </br> [[โรงพยาบาลกลาง]] </br> [[โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์]]</br> [[โรงพยาบาลลำพูน]]|วันที่ก่อตั้ง=18 มกราคม พ.ศ. 2555<br>({{อายุปีและวัน|2012|1|18}})|คำขวัญ="สถาบันการแพทย์ที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อชุมชนอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงที่ยั่งยืน"}}
'''สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง''' จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 นับเป็นสำนักวิชาลำดับที่ 11 ของ[[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] และเป็น[[แพทยศาสตร์|โรงเรียนแพทย์]]ใน[[จังหวัดเชียงราย]]ของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 19 ของ[[กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย|ประเทศไทย]] โดยในช่วงแรกได้ร่วมมือกับทางโรงพยาบาลในสังกัดของ[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร]] และ[[กระทรวงสาธารณสุข]]ในการร่วมผลิตแพทย์ตามนโยบายโครงการผลิตแพทย์เพิ่มแห่งประเทศไทย และหลังจากนั้นสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จึงเริ่มพัฒนา[[โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]] เพื่อเป็นโรงพยาบาลหลักในการทำการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ โดยมีความร่วมมือระหว่างเครือข่ายกับโรงพยาบาลที่เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ ทั้ง 3 แห่งในการพัฒนาทางด้านวิชาการและบริการร่วมกัน
 
บรรทัด 39:
* '''โครงการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษา ระบบ โควตา 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (Quota)'''
 
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ซึ่งรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการ หรือกำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จากโรงเรียนในเขต 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ นักศึกษาแพทย์กลุ่มนี้จะทำการเรียนชั้นคลินิกที่[[โรงพยาบาลลำพูน|ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลลำพูน]] [[จังหวัดลำพูน]] โครงการนี้จะดำเนินการเปิดรับสมัครในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี
 
* '''โครงการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษา ระบบ โควตา 8 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง (Quota)'''
 
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ซึ่งรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการ หรือกำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จากโรงเรียนในเขต 8 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ พิษณุโลก ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี นักศึกษาแพทย์กลุ่มนี้จะทำการเรียนชั้นคลินิกที่[[โรงพยาบาลกลาง|ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกลาง]] [[กรุงเทพมหานคร]] โครงการนี้จะดำเนินการเปิดรับสมัครในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี
 
* '''โครงการรับตรงร่วมกับ กสพท. (Direct Admissions)'''
 
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ซึ่งรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการ หรือกำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ทั่วประเทศ โดยรับสมัครร่วมกับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) นักศึกษาแพทย์กลุ่มนี้จะทำการเรียนชั้นคลินิกที่[[โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์|ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] โครงการนี้จะดำเนินการเปิดรับสมัครในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี
 
=== หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ===