ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลงคะแนนแบบจัดลำดับ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 27:
[[Image:Rankballotname2.gif|thumb|ตัวอย่างบัตรลงคะแนนแบบจัดลำดับโดยให้ผู้ลงคะแนนเขียนชื่อผู้สมัครตามลำดับก่อนหลัง]]
{{Main|การลงคะแนนแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง}}
ระบบนี้ใช้สำหรับการเลือกตั้งผู้แทนหลายคนต่อหนึ่ง[[เขตเลือกตั้ง]] โดยผู้สมัครรายใดๆ ที่ได้คะแนนเสียงถึงโควตาที่กำหนดจะได้รับเลือก และคะแนนเสียงส่วนเกินจากโควตานั้นจะถูกถ่ายโอนไปให้ผู้สมัครในลำดับถัดไปตามที่ระบุไว้ในบัตรเลือกตั้ง โดยหากยังไม่สามารถได้ผู้ชนะครบทุกที่นั่ง ผู้สมัครที่มีคะแนนน้อยที่สุดจะตกรอบและคะแนนของผู้ตกรอบจะถูกถ่ายโอนไปให้ผู้สมัครลำดับถัดไปตามบัตรเลือกตั้ง ขั้นตอนเหล่านี้จะถูกทำซ้ำจนกว่าจะได้ผู้ชนะครบทุกที่นั่ง วิธีนี้เรียกอีกชื่อว่า "ระบบแฮร์-คลาร์ก" และผลลัพธ์ที่ได้ควรจะมีความเป็นสัดส่วน<ref>{{cite web |url=http://www.electionguide.org/glossary.php |archive-url=https://web.archive.org/web/20120717021549/http://www.electionguide.org/glossary.php |title=Glossary |work=ElectionGuide | publisher=[[International Foundation for Electoral Systems]] |archive-date=July 17, 2012 |url-status=dead}}</ref> ผู้ลงคะแนนสามารถลงคะแนนเลือกผู้สมัครจากต่างพรรคการเมืองในบัตรเลือกตั้งเดียวกันได้<ref>{{Cite web|last=Affairs|first=The Department of Internal|title=STV Information|url=http://www.stv.govt.nz/stv/electing.htm|access-date=2020-11-30|website=www.stv.govt.nz|language=en|archive-date=2020-11-12|archive-url=https://web.archive.org/web/20201112023459/http://www.stv.govt.nz/stv/electing.htm|url-status=dead}}</ref>
 
เมื่อใช้ระบบนี้ในการหาผู้ชนะเพียงคนเดียวต่อเขตเลือกตั้งจะมีผลลัพธ์เท่ากับ[[การลงคะแนนแบบหลายรอบในทันที]]<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/uk_politics/election_2010/8644480.stm|title=Q&A: Electoral reform and proportional representation|date=2010-05-11|publisher=BBC|access-date=May 13, 2010}}</ref> โดยวิธีทั้งสองนี้ในสหรัฐเรียกว่า "การลงคะแนนตามลําดับความชอบ"