ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมช่างอากาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sutoppakaw (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 7 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 54:
 
== ภารกิจ ==
มีหน้าที่วางแผนการปฏิบัติอำนวยการ ประสานงาน ติดตาม กำกับดูแล พัฒนา และดำเนินการเกี่ยวกับกิจการ ช่างอากาศ รวมทั้งระบบ การพัสดุช่างอากาศ และการพัสดุเชื้อเพลิง กับมีหน้าที่จัดการความรู้ ควบคุม ประเมินผล และตรวจตรา กิจการในสายวิทยาการด้านช่างอากาศ มีเจ้ากรมช่างอากาศเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ<ref>[{{Cite web |url=http://www.dae.mi.th/ |title=website กรมช่างอากาศ] |access-date=2011-04-22 |archive-date=2011-05-13 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110513060217/http://www.dae.mi.th/ |url-status=dead }}</ref>
 
== การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่ ==
บรรทัด 73:
# แผนกแผนแบบ
# แผนกวิศวการ
# แผนกวิจัยและตรวจทดลอง<ref>แผนกวิจัยและตรวจทดลอง http://www.research.dae.mi.th {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160620061730/http://www.research.dae.mi.th/ |date=2016-06-20 }}</ref>
# แผนกวิทยาการ
# แผนกเอกสารเทคนิค
บรรทัด 81:
'''ที่ตั้ง''' เลขที่ 1 กรมช่างอากาศ ถนนประดิพัทธ์ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
 
ข้าราชการและลูกจ้างประมาณ 200 คน<ref>[{{Cite web |url=http://www.atd.dae.mi.th/ |title=กองวิทยาการ กรมช่างอากาศ] |access-date=2011-04-27 |archive-date=2013-04-27 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130427152747/http://www.atd.dae.mi.th/ |url-status=dead }}</ref>
 
=== กองซ่อมอากาศยาน 1 ===
บรรทัด 131:
ต.ค. 2539 กรมช่างอากาศ จัดอยู่ในสายยุทธบริการ 11 หน่วย ซึ่งอยู่ในสายการบังคับบัญชา ของกองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ หรือเรียกตามคำย่อว่า บนอ. ขึ้นตรงต่อกองทัพอากาศ
 
1 เม.ย.2552 กองทัพอากาศ ได้ปรับโครงสร้างใหม่ กรมช่างอากาศ จัดอยู่ในสายยุทธบริการ ขึ้นตรงกับกองทัพอากาศ มีหน้าที่วางแผนการ ปฏิบัติ อำนวยการ ประสานงาน ติดตาม กำกับการพัฒนาและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการช่างอากาศ และการพัสดุเชื้อเพลิง กับมีหน้าที่จัดการความรู้ ควบคุม ประเมินผล และตรวจตรากิจการในสายวิทยาการด้านช่างอากาศ โดยมี 10 กอง และ 1 แผนกขึ้นตรง และมีเจ้ากรมช่างอากาศเป็นผู้บังคับ บัญชารับผิดชอบ<ref>[{{Cite web |url=http://www.dae.mi.th/his.htm |title=กรมช่างอากาศ] |access-date=2011-04-22 |archive-date=2011-03-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110303223546/http://www.dae.mi.th/his.htm |url-status=dead }}</ref>
 
== ทำเนียบผู้บังคับบัญชา ==
บรรทัด 326:
12 พฤษภาคม 2464 สร้างเครื่องบินนิออร์ปอร์ท และทำการบินได้สำเร็จ จำนวน 4 เครื่อง โดยได้ใช้พันธุ์ไม้ที่เกิดในประเทศไทยในการสร้าง ลำตัว ปีก หางและใบพัดของเครื่องบิน
 
ปี พ.ศ. 2470 ได้ทำการออกแบบและสร้างเครื่องบินทิ้งระเบิดแบบ บ.ท.2 ซึ่งต่อมาได้ชื่อเป็น เครื่องบินบริพัตร เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดสัญชาติไทย 2 ที่นั่ง ปีก 2 ชั้น ใช้เครื่องยนต์จูปิเตอร์ 400-600 แรงม้า 1 เครื่อง โดยในปี พ.ศ. 2472 ได้บินเดือนทางไปเยือนประเทศอินเดีย และในปี 2473 ได้บินไป ฮานอย ประเทศเวียดนาม ปัจจุบันได้ตั้งแสดง ตัวอย่างให้ชม ที่บริเวณช่องทางเข้า สโมสรนายทหารอากาศ บางซื่อ<ref>[{{Cite web |url=http://www.dae.mi.th/his.htm |title=กรมช่างอากาศ] |access-date=2011-04-22 |archive-date=2011-03-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110303223546/http://www.dae.mi.th/his.htm |url-status=dead }}</ref>
 
ปี พ.ศ. 2472 ได้ออกแบบ และสร้างเครื่องบินขับไล่ แบบ ข.5 ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "เครื่องบินประชาธิปก" ตามพระนาม [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ได้พระราชทานชื่อไว้ นับเป็นเครื่องบินแบบที่สองที่ออกแบบและสร้างเองโดยคนไทย
บรรทัด 338:
ในปี 2517 แผนแบบ ด้านโครงสร้าง และอากาศพลศาสตร์ บ.ทอ.5 โดยสร้างหุ่นจำลอง ขนาด 1:6 ไปทำการทดลองที่ประเทศออสเตรเลีย
 
ในปี 2526 สร้างเครื่องบิน FANTRINER โดยร่วมกับ บริษัท RHEIN FLUGZEUGBAU GMBH จากประเทศเยอรมันและได้บรรจุเข้าประจำการกองทัพอากาศ เป็น บ. ฝึกแบบ 18/ก (FT 400 และ FT 600) จำนวน 20 เครื่อง<ref>[{{Cite web |url=http://www.dae.mi.th/his.htm |title=กรมช่างอากาศ] |access-date=2011-04-22 |archive-date=2011-03-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110303223546/http://www.dae.mi.th/his.htm |url-status=dead }}</ref>
 
ในปี 2542 ได้ออกแบบสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ดับไฟป่า บน บ.ล.2ก เพื่อรองรับอุตสาหกรรมการบิน ตามนโยบายของรัฐบาลที่จะให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค
บรรทัด 344:
ในปี 2549 กรมช่างอากาศ ได้จัดทำโครงสร้าง บ.ทอ.6 ขึ้น โดยได้ทำโครงสร้าง บ.ชอ.2 ขี้นก่อน จำนวน 1 เครื่อง โดยเป็นการ [[reverse engineering]] จากเครื่องบินแบบ [[Marchetti]] และ บ.ชอ.2 ได้ทำการบินเมื่อ เดือนกันยายนปี 2550 ปัจจุบันได้ทำการเตรียมพร้อมสำหรับเที่ยวบินแรกของเครื่องบิน กองทัพอากาศแบบที่ 6 ปัจจุบัน บรรจุราชการในกองทัพอากาศ จำนวน 3 เครื่อง
 
ในปี 2553 กองทัพอากาศ โดยกรมช่างอากาศ ได้สนับสนุนงบประมาณงานวิจัยให้กับ[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]] (มจพ.) [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] และ[[ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ]] (เอ็มเทค) ในโครงการ การสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานสำหรับอากาศยานของกองทัพอากาศ โดยโครงการจะมุ่งเน้นการศึกษาและผลิตเชื้อเพลิงไบโอเจ็ท ในระดับแล็บสเกลเพื่อทดสอบคุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้ มุ่งเน้นกระบวนการในการผลิตทั้งหมดสองกระบวนการ คือ น้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์โดยกระบวนการ ฟิชเชอร์-ทรอปซ์([[Fischer-Tropsch]] Synthetic Fuel)และ การสังเคราะห์ด้วยกระบวนการแตกตัวด้วยไฮโดรเจนของพลังงานเชื้อเพลิงหมุนเวียนกลุ่มน้ำมันจากพืช (Hydro-treated Renewable Jet fue, [[Synthetic fuel|HRJ]] from Plant Oil)<ref>{{Cite web |url=http://www.synjetfuel.dae.mi.th/ |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2021-09-05 |archive-date=2016-04-09 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160409064954/http://www.synjetfuel.dae.mi.th/ |url-status=dead }}</ref>
 
== งานโครงการที่สำคัญ ==