ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน รัตนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
}}
 
'''เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์''' (นามเดิมว่า '''กุน รัตนกุล)แซ่อึ้ง''' (黃軍 [[ภาษาแต้จิ๋ว|จีนแต้จิ๋ว]]: ng<sup>5</sup> gung<sup>1</sup> [[ภาษาจีนกลาง|จีนกลาง]]: ''Huáng Jūn'') เป็น[[สมุหนายก]]ในสมัยช่วงต้นรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] เป็นต้นสกุล "รัตนกุล ได้รับราชการตั้งแต่ในแผ่นดิน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]จนถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย"
 
==ประวัติ==
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน) เดิมชื่อว่า กุน แซ่อึ้ง หรือ อึ้งกุน เป็นบุตรชายของกุ๋ย แซ่อึ้ง หรืออึ้งกุ๋ย (黃貴 [[ภาษาแต้จิ๋ว|จีนแต้จิ๋ว]]: ng<sup>5</sup> gui<sup>3</sup> [[ภาษาจีนกลาง|จีนกลาง]]: ''Huáng Guì'') พ่อค้าชาวจีนแต้จิ๋วซึ่งได้อพยพมาค้าขายตั้งเคหสถานอยู่ที่ตำบลบ้านคลองโรงช้าง (วัดโรงช้าง) [[อำเภอเมืองราชบุรี|เมืองราชบุรี]] "จีนกุ๋ย" เป็นพ่อค้าสำเภามีบุตรธิดามาก "จีนกุน" เป็นบุตรคนที่ห้าของจีนกุ๋ย มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ปากแม่น้ำแม่กลองฝั่งเหนือ แขวงเมืองสมุทรสงคราม<ref name=":0">รัตนกุลอดุลยภักดี, พระยา. '''ลำดับสกุลเก่าบางสกุล ภาคที่ ๑'''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2463.</ref>
นามเดิม คือ กุน เป็นบุตรคนที่ 5 ของจีนกุ๋ย เป็นหลานชายของอ๋อง เฮงฉวน (Ong Heng-Chuan) จีนแต้จิ๋ว แซ่อึ้ง จีนกุ๋ยผู้เป็นบิดามีหน้าที่รับผิดชอบการค้าสำเภา บ้านอยู่ที่[[ตำบลบ้านคลองโรงช้าง]] [[ราชบุรี]] เมื่อจีนกุนได้รับราชการแล้วย้ายมาอยู่ที่แม่กลอง [[สมุทรสงคราม]] ก่อนจะโยกย้ายมาอยู่หน้า[[วัดราชบุรณราชวรวิหาร|วัดเลียบ]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน) ปรากฏรับราชการครั้งแรก ดำรงตำแหน่งเป็น''พระราชประสิทธิ์''<ref name=":1">{{cite web|title=เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์|url=https://drmlib.parliament.go.th/site.php?mod=document&op=doc_poll&url=aHR0cHM6Ly9kbC5wYXJsaWFtZW50LmdvLnRoL2JpdHN0cmVhbS9oYW5kbGUvbGlydC81MDI0NTIvMjU0NV8lRTAlQjglOTUlRTAlQjglQjElRTAlQjklODklRTAlQjglODclRTAlQjklODAlRTAlQjglODglRTAlQjklODklRTAlQjglQjIlRTAlQjglOUUlRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjAlRTAlQjglQTIlRTAlQjglQjIlRTAlQjglODElRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjglRTAlQjglODclRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjElRTAlQjglOTUlRTAlQjglOTklRTAlQjklODIlRTAlQjglODElRTAlQjglQUElRTAlQjglQjQlRTAlQjglOTklRTAlQjglOTclRTAlQjglQTMlRTAlQjklOENfJUUwJUI4JTgxJUUwJUI4JUEzJUUwJUI4JUExJUUwJUI4JUE4JUUwJUI4JUI0JUUwJUI4JUE1JUUwJUI4JTlCJUUwJUI4JUIyJUUwJUI4JTgxJUUwJUI4JUEzLnBkZj9zZXF1ZW5jZT0x&handle=502452&uid=0&target=download&ip=49.228.23.17&col_status=false&collection=381|publisher=สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร|page=26}}</ref> เจ้ากรมพระคลังวิเศศในสมัยกรุงธนบุรี ได้ย้ายครอบครัวมาตั้งบ้านเรือนที่หน้า[[วัดราชบุรณราชวรวิหาร|วัดเลียบ]] [[กรุงเทพมหานคร]] และยกบ้านเดิมที่แม่กลองสร้างขึ้นเป็นวัด<ref name=":0" />
ในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นพระราชประสิทธิ์ ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]ได้เลื่อนยศเป็นพระยาศรีพิพัฒน์<ref>{{cite web |title=การอันเนื่องต่อพระราชพิธีบรมราชาภิเศก |url=https://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%92/%E0%B9%97-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%81}}</ref> จางวางกรมพระคลังสินค้า สันนิษฐานว่ามีความใกล้ชิดสนิทสนมกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกตั้งแต่ทรงเป็นหลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี และเมื่อย้ายมาอยู่ที่สมุทรสงครามก็คงคุ้นเคยกับพระญาติของพระมเหสีพระองค์ จีนกุนมีความมั่งคั่ง จนเรียกกันว่า ''เจ๊สัวกุน''<ref>{{cite web |title=คนจีน “แต้จิ๋ว” ที่มีบทบาทด้านการค้าการปกครอง ยุคธนบุรี-ต้นรัตนโกสินทร์ คือใคร? มาจากไหน? |url=https://www.silpa-mag.com/history/article_48377 |publisher=ศิลปวัฒนธรรม}}</ref>
 
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อพ.ศ. 2325 ทรงแต่งตั้งพระราชประสิทธิ์ (กุน) ขึ้นเป็นพระยาศรีพิพัฒน์ จางวางกรมพระคลังสินค้า ต่อมาในพ.ศ. 2348 เมื่อ[[เจ้าพระยาพระคลัง (หน)]] ถึงแก่อสัญกรรม พระยาศรีพิพัฒน์ (กุน) ได้เลื่อนขึ้นเป็นพระยาพระคลัง เสนาบดีกรมคลัง<ref name=":1" />
ครั้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ 2 ระบุว่าได้เป็นพระยาพระคลัง หรือเรียกว่า ''ท่านท่าเรือจ้าง'' เพราะท่านเป็นผู้ชำนาญในการแต่งสำเภาออกไปค้าขายที่เมืองจีน จนได้ชื่อว่าเศรษฐีสำเภา ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายวัด อาทิ [[วัดพระยาทำ]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งที่มาของชื่อวัดก็มาจากการที่ท่านได้ทำการบูรณะวัด [[วัดใหญ่ (จังหวัดสมุทรสงคราม)|วัดใหญ่]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ซึ่งเคยอยู่ใกล้กับบ้านเรือนของท่าน และวัดในจังหวัดนนทบุรี อย่าง วัดหัวเมือง (ปัจจุบันเป็นวัดร้างใน[[โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า]]) วัดกลางเมือง ([[วัดกลางบางซื่อ]]) และ[[วัดท้ายเมือง]]<ref>''กรมพระราชวังหลัง'' (กรุงเทพฯ : อมรโปรดักส์, 2534. ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี ม.ล. จวง เสนีวงศ์ 30 ก.ค. 2534). หน้า 151.</ref> รวมถึง[[วัดศาลากุล]]<ref>{{cite web |title=วัดศาลากุล หนุมานหลวงพ่อสุ่น |url=https://kohkred-sao.go.th/public/list/data/detail/id/165/menu/1240/page/1 |publisher=องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเกร็ด}}</ref>
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]เสด็จขึ้นครองราชสมบัติพ.ศ. 2352 ทรงแต่งตั้งพระยาพระคลัง (กุน) ขึ้นเป็นเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ที่สมุหนายก ได้รับสมยานามว่า "ท่านท่าเรือจ้าง"<ref name=":1" /> ทำหน้าที่แต่งสำเภาหลวงไปค้าขายที่จีน
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน รัตนกุล) ถึงแก่อสัญกรรมในรัชกาลที่ 2 สันนิษฐานว่าก่อนวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2357 เนื่องจาก[[เจ้าพระยาอภัยภูธร (น้อย บุณยรัตพันธุ์)]] ได้ขึ้นมาเป็นสมุหนายกแทน
 
ครั้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษกรัชกาลที่(กุน) 2 ระบุว่าได้เป็นพระยาพระคลัง หรือเรียกว่า ''ท่านท่าเรือจ้าง'' เพราะท่านเป็นผู้ชำนาญในการแต่งสำเภาออกไปค้าขายที่เมืองจีน จนได้ชื่อว่าเศรษฐีสำเภา ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายวัด อาทิ [[วัดพระยาทำ]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งที่มาของชื่อวัดก็มาจากการที่ท่านได้ทำการบูรณะวัด [[วัดใหญ่ (จังหวัดสมุทรสงคราม)|วัดใหญ่]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ซึ่งเคยอยู่ใกล้กับบ้านเรือนของท่าน และวัดในจังหวัดนนทบุรี อย่าง วัดหัวเมือง (ปัจจุบันเป็นวัดร้างใน[[โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า]]) วัดกลางเมือง ([[วัดกลางบางซื่อ]]) และ[[วัดท้ายเมือง]]<ref>''กรมพระราชวังหลัง'' (กรุงเทพฯ : อมรโปรดักส์, 2534. ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี ม.ล. จวง เสนีวงศ์ 30 ก.ค. 2534). หน้า 151.</ref> รวมถึง[[วัดศาลากุล]]<ref>{{cite web |title=วัดศาลากุล หนุมานหลวงพ่อสุ่น |url=https://kohkred-sao.go.th/public/list/data/detail/id/165/menu/1240/page/1 |publisher=องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเกร็ด}}</ref>
 
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน รัตนกุล) ถึงแก่อสัญกรรมในรัชกาลที่ 2 สันนิษฐานว่าก่อนวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2357 เนื่องจาก[[เจ้าพระยาอภัยภูธร (น้อย บุณยรัตพันธุ์)]] ได้ขึ้นมาเป็นสมุหนายกแทน
อัฐิของท่านบรรจุอยู่ที่[[เจดีย์]]วัดใหญ่ จังหวัดสมุทรสงคราม
 
==ครอบครัว==
เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กุน) เป็นต้นสกุล"รัตนกุล" ปรากฏบุตรธิดาดังนี้;<ref name=":0" />
ด้านครอบครัว มีบุตรธิดาคือ จมื่นมหาเล็ก (ทองอยู่) พระยาพิไชยสงคราม (สัตวา) ซึ่งเป็นพระยารัตนามาตยพงศ์ภักดี และ[[ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1)]] และพระเบญจวรรณซึ่งเป็นพระนิกรมมุนีที่พระราชาคณะ ครอง[[วัดพระยาทำ]]ในสมัยรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เชื้อสายของท่านในลำดับถัดมา คือ พระยารัตนกุลอดุลยภักดี (จำรัส) ซึ่งเคยเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลราชบุรีและมณฑลนครสวรรค์<ref>{{cite web |url=https://drmlib.parliament.go.th/site.php?mod=document&op=doc_poll&url=aHR0cHM6Ly9kbC5wYXJsaWFtZW50LmdvLnRoL2JpdHN0cmVhbS9oYW5kbGUvbGlydC81MDI0NTIvMjU0NV8lRTAlQjglOTUlRTAlQjglQjElRTAlQjklODklRTAlQjglODclRTAlQjklODAlRTAlQjglODglRTAlQjklODklRTAlQjglQjIlRTAlQjglOUUlRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjAlRTAlQjglQTIlRTAlQjglQjIlRTAlQjglODElRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjglRTAlQjglODclRTAlQjglQTMlRTAlQjglQjElRTAlQjglOTUlRTAlQjglOTklRTAlQjklODIlRTAlQjglODElRTAlQjglQUElRTAlQjglQjQlRTAlQjglOTklRTAlQjglOTclRTAlQjglQTMlRTAlQjklOENfJUUwJUI4JTgxJUUwJUI4JUEzJUUwJUI4JUExJUUwJUI4JUE4JUUwJUI4JUI0JUUwJUI4JUE1JUUwJUI4JTlCJUUwJUI4JUIyJUUwJUI4JTgxJUUwJUI4JUEzLnBkZj9zZXF1ZW5jZT0x&handle=502452&uid=0&target=download&ip=49.228.23.17&col_status=false&collection=381|page=26|title=เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์|publisher=สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
 
}}</ref>
* ธิดา ชื่อ ปราง
* [[ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1)|เจ้าจอมมารดาอิ่ม ในรัชกาลที่ 1 หรือท้าววรจันทร์ (อิ่ม) ในรัชกาลที่ 2]]
* คุณหญิงนวน ภรรยาของพระยาประชานนดโรทัย (บุญรอด รัตนวราหะ)
* ธิดา ชื่อ งิ้ว
* บุตรชายชื่อ ทองอยู่ จมื่นมหาดเล็กในรัชกาลที่ 1
* ธิดาชื่อ ป้อม มารดาของคุณเถ้าแก่ตลับ
* คุณเถ้าแก่หงษ์ ในรัชกาลที่ 4
* ธิดา ชื่อ จาด
* คุณเถ้าแก่นกแก้ว ในรัชกาลที่ 4
* คุณเถ้าแก่โนรี ในรัชกาลที่ 4
* พระนิกรมุนี (เบญจวรรณ) พระราชาคณะ[[วัดพระยาทำ]]ในรัชกาลที่ 4
* พระยารัตนามาตยพงศ์ภักดี (สัตวา)
* ธิดา ชื่อ สาริกา
* หลวงธรเณนทร์ (สีชมภู) ในรัชกาลที่ 4
* พระราชสมบัติ (การเวก) ในรัชกาลที่ 4 เป็นปู่ของพระยารัตนกุลอดุลยภักดี (จำรัส รัตนกุล) สมุหเทศาภิบาลมณฑลราชบุรีและมณฑลนครสวรรค์<ref name=":1" />
* บุตรชาย ชื่อ ควาย
 
==อ้างอิง==