ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{รีไรต์}}
{{กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
| name = เจ้าพระยามหาเสนา<br>(ปิ่น)
เส้น 9 ⟶ 7:
| monarch = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
| predecessor = [[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]]
| successor = [[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุญมา)|เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุญมา)]]
| order1 = [[เจ้าพระยาพลเทพ|เสนาบดีกรมนา]]
| monarch1 = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
| term1 = พ.ศ. 2325– พ.ศ. 2348
| predecessor1 = เจ้าพระยาพระยาพลเทพ (ทองอินกรุงธนบุรี)
| successor1 = [[เจ้าพระยาพระยาพลเทพ (บุญมา บ้านแม่ลา)|เจ้าพระยาพลเทพ (บุญมาบุนนาค บ้านแม่ลา)]]
| birth_date =
| birth_place = [[อาณาจักรอยุธยา]]
เส้น 22 ⟶ 20:
| mother =
| spouse = ท่านผู้หญิงนิ่มนวล(ฟัก)
| children = [[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]<br>ฯลฯ
| children = 3 คน
| birth_name = ปิ่น
| religion = [[พุทธ]]
เส้น 30 ⟶ 28:
}}
 
'''เจ้าพระยามหาเสนาอภัยราชา''' (นามว่า '''ปิ่น)''' ดำรงตำแหน่งเป็น'''เจ้าพระยามหาเสนา''' ที่[[สมุหพระกลาโหม]]ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] และเป็นบิดาของ[[เจ้าพระยาบดินทรเดชา]] (สิงห์ สิงหเสนี ) เป็นเสมียน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อครั้งยังดำรงตำแหน่ง [[เจ้าพระยาจักรี]] ในรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]
 
เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) เป็นบุตรของเจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล)<ref name=":0">'''อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเจือ นครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี) ท.ช.ต.จ.''' ณ วัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร วันอาทิตย์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕.</ref> บางแห่งระบุว่า มารดาของเจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) เป็นชาวมอญซึ่งเป็นน้องสาวของ[[เจ้าคุณบวรโภชน์ (ฉิม)]]<ref name=":1">นิธิ เอียวศรีวงศ์. '''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี'''. กรุงเทพฯ; มติชน, พ.ศ. 2550.</ref> พระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ซึ่งเป็นธิดาของพระยายมราช (ฉ่ำ)
'''เจ้าพระยามหาเสนา (ปิ่น) ''' เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยในรัชกาลที่ 1 เป็นอย่างยิ่ง เมื่อยังเป็น [[เจ้าพระยาพลเทพ (ปิ่น)]] นั้นปรากฏหลักฐานใน [[พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1]] ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์(ขำ บุนนาค) ปรากฏว่าเมื่อมีราชการสงครามกับพม่า รัชกาลที่ 1 และ [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] ต้องเสด็จพระราชดำเนินออกไปรับศึกนอกพระนครแล้ว มักทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพลเทพ(ปิ่น) เป็นผู้รักษาพระนคร เช่น สงครามคราวรบพม่าที่ท่าดินแดงใน พ.ศ.2328 ดังความในพระราชพงศาวดารว่า
 
เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) สืบเชื้อสายมาจากพราหมณ์ศิริวัฒนะ พราหมณ์ปุโรหิตในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]<ref name=":0" /> พราหมณ์ศิริวัฒนะมีบุตรคือพระมหาราชครูพระราชปุโรหิตาจารย์ พระมหาราชครูฯมีบุตรสองคนได้แก่ เจ้าพระยาพิษณุโลก (เมฆ) (บิดาของ[[เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)]]) และเจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล)
"...พระบาทสมเดจ์พระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์ ได้ทรงทราบข่าวศึกอันยกมานั้น จึ่งมีพระราชดำรัสให้เกณฑ์กองทับในกรุงฯ แลหัวเมืองไว้ให้พร้อมสัพ ครั้นถึง ณ วันพฤหัสบดีเดือนสามขึ้นสิบสี่ค่ำเพลาเช้าสามนาฬิกากับหกบาท สมเดจพระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์ ก็เสดจ์พระราชดำเนินพยุหยาตรานาวาทับหลวงจากกรุงเทพฯ ไปโดยทางชลมารค พร้อมด้วยเรือท้าวพระยาข้าทูละอองฯ ทั้งหลายโดยเสดจ์ตามขบวนน่าหลังพรั่งพร้อมเสร็จ โปรดให้สมเดจพระอนุชาธิราชเจ้ากรมพระราชวังบวรฯ แลกองทับเจ้าพระยารัตนาพิพิธ ผู้ว่าที่สมุหนายกไปกองน่า พลโยธาหาร ทั้งพระบรมมหาราชวัง พระราชวังบวร เปนคนสามหมื่นยกล่วงน่าไปก่อน จึ่งเสดจ์ยกพยุหโยธาทับหลวงกับทั้งกรมพระราชวังหลังแลเจ้าต่างกรมทั้งปวงเปนพลสามหมื่นเสศหนุนไป '''แล้วโปรดให้พระยาพลเทพอยู่รักษาพระนคร'''..."
 
เจ้าพระยามหาสมบัติ (ผล) มีบุตรธิดาได้แก่;<ref name=":0" />
 
* ญ. ชื่อ เลื่อน
* [[เจ้าพระยาพลเทพ (ทองอิน)]] ต้นสกุล"ทองอิน" และ"อินทรพล"
* [[กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์|กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ (มุก)]] พระภัสดาใน[[กรมหลวงนรินทรเทวี]]
* ท้าวทรงกันดาล (ทองศรี)
* ญ. ชื่อ ทองเภา ถูกกวาดต้อนไปพม่าเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา
* เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)
 
เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) ปรากฏรับราชการครั้งแรกในสมัยกรุงธนบุรีเป็นเสมียนในกรมมหาดไทย เป็นข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯตั้งแต่ครั้งทรงเป็นเจ้าพระยาจักรี ในเหตุการณ์[[กบฏพระยาสรรค์]]เมื่อสิ้นสุดสมัยธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพออกไปตีเมืองกัมพูชา ได้มอบหมายให้พระสุริยอภัย (ทองอิน ต่อมาคือ[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์|พระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์]]) ยกทัพจากนครราชสีมาเข้ามาระงับเหตุในกรุงธนบุรี นายปิ่นเป็นผู้เกณฑ์รวบรวมไพร่พลให้แก่พระสุริยอภัยในการสู้รบกับ[[พระยาสรรค์]]<ref name=":1" /> ในพ.ศ. 2325 เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงแต่งตั้งนายเสมียนปิ่นขึ้นเป็นพระยาพลเทพ เสนาบดีกรมนาคนแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ดังปรากฏในคำปรึกษาตั้งข้าราชการว่า;
 
{{คำพูด|นายปิ่นข้าหลวงเดิม ได้โดยเสด็จพระราชดำเนินการสงครามมาหลายครั้ง ต้องศัสตราวุธข้าศึก แล้วครั้งนี้คิดอ่านสื่อสวนชวนนายทัพนายกองอาณาประชาราษฏร์มาตีเอาพระนครธนบุรีได้ มีความชอบมาก ขอพระราชทานตั้งให้เป็นพระยาพลเทพ}}<ref name=":2">[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์]]. '''เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์'''. กรุงเทพ : กรมศิลปากร, 2545.</ref>
 
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯและ[[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]]เสด็จออกจากพระนครไปในการสงครามต่างๆ พระยาพลเทพ (ปิ่น) ทำหน้าที่เป็นผู้รักษาพระนคร<ref>[[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา]]. '''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑'''. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ, กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ๒๕๓๑.</ref>ได้แก่ [[สงครามท่าดินแดง]]พ.ศ. 2329 และ[[สงครามตีเมืองทวาย]]พ.ศ. 2336 เมื่อ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อพ.ศ. 2348 พระยาพลเทพ (ปิ่น) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าพระยามหาเสนา สมุหกลาโหม ขึ้นแทนที่ เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อพ.ศ. 2352 เจ้าพระยามหาเสนา (ปิ่น) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่''เจ้าพระยาอภัยราชา'' ดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จเจ้าพระยาวังหน้า<ref name=":2" />ใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] เป็นอธิบดีของขุนนางวังหน้าทั้งปวง
 
เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) ถึงแก่กรรมในรัชกาลที่ 2 เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) สมรสกับท่านผู้หญิงฟัก มีบุตรธิดาได้แก่;<ref name=":0" />
 
* เจ้าจอมปริก ในรัชกาลที่ 1
* จมื่นเด็กชา (แตงโม) มหาดเล็กในกรมพระราชวังบวรฯ
* เจ้าจอมปราง ในรัชกาลที่ 2
* [[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)|เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์)]]
* หลวงรามณรงค์ (โต)
* พระยาพิชัยสงคราม (โห้)
* หลวงมหาใจภักดิ์ (เจริญ)
* หลวงพิพิธ (ม่วง) ถึงแก่กรรมในการรบที่บกหวาน [[กบฏเจ้าอนุวงศ์|สงครามเจ้าอนุวงศ์]] เมื่อพ.ศ. 2371
* ท่านผู้หญิงบุนนาค ภรรยาของเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน)
 
{{ขาด== อ้างอิง}} ==
<references />
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม}}