ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 14 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 33:
จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเป็น[[เลขอะตอม]] และเป็นตัวนิยามธาตุ ตัวอย่างเช่น อะตอมที่มีโปรตอน 29 ตัวจะเป็นธาตุ[[ทองแดง]] จำนวนนิวตรอนเป็นตัวระบุ[[ไอโซโทป]]ของธาตุ อะตอมสามารถดึงดูดอะตอมอื่นตั้งแต่หนึ่งอะตอมขึ้นไปเกิด[[พันธะเคมี]]เป็น[[สารประกอบเคมี]]เช่น [[โมเลกุล]]หรือ[[ผลึก]] (crystal) การรวมตัวและแยกอะตอมนี้เป็นตัวการของการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพที่สังเกตได้ในธรรมชาติ วิชาที่ศึกษาเรียก [[เคมี]]
 
"อะตอม" มาจาก[[ภาษากรีก]]ว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า "ไม่สามารถตัดแบ่งให้เล็กลงไปได้อีก" (แต่เดิมจึงถูกเรียกในภาษาไทยว่า ''ปรมาณู'') หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่ง ๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก [[กลศาสตร์ควอนตัม]]เป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ<ref>{{cite web
| last=Haubold
{{cite web
| last=Haubold |first=Hans
| |last2=Mathai
| |first2=A.M.
| year=1998
| title=Microcosmos: From Leucippus to Yukawa
| url=http://www.columbia.edu/~ah297/unesa/universe/universe-chapter3.html
| work=Structure of the Universe
| accessdate=2008-01-17
| archive-date=2008-10-01
| archive-url=https://web.archive.org/web/20081001172401/http://www.columbia.edu/~ah297/unesa/universe/universe-chapter3.html
| url-status=dead
}}</ref><ref>Harrison (2003:123–139).</ref>
 
เส้น 219 ⟶ 225:
| language=de
| accessdate=2009-06-04
}}</ref> ปี ค.ศ. 1944 ฮานได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] แต่ไมต์เนอร์กับฟริสช์กลับไม่มีชื่อได้รับร่วมทั้งที่ฮานได้พยายามเสนอแล้ว<ref>{{cite journal
| last=Crawford
{{cite journal
| last=Crawford |first=E.| year=1997
| year=1997
| title=A Nobel tale of postwar injustice
| url=http://md1.csa.com/partners/viewrecord.php?requester=gs&collection=TRD&recid=63212AN&q=A+Nobel+tale+of+postwar+injustice&uid=787269344&setcookie=yes
| journal=Physics Today
| volume=50
| issue=9
| pages=26-32
| doi=10.1063/1.881933
| last2=Sime
เส้น 231 ⟶ 240:
| last3=Walker
| first3=Mark
| access-date=2010-05-02
| archive-date=2012-03-07
| archive-url=https://web.archive.org/web/20120307184456/http://md1.csa.com/partners/viewrecord.php?requester=gs&collection=TRD&recid=63212AN&q=A+Nobel+tale+of+postwar+injustice&uid=787269344&setcookie=yes
| url-status=dead
}}</ref>
 
เส้น 317 ⟶ 330:
| accessdate = 2007-02-01
| doi=10.1119/1.17828 }}</ref> กระบวนการปลดปล่อยพลังงานเช่นนี้เองที่ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นในดาวฤกษ์ซึ่งสามารถเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำหรับนิวเคลียสธาตุหนัก พลังงานยึดเหนี่ยวต่อ[[นิวคลีออน]]ในนิวเคลียสเริ่มต้นลดจำนวนลง นั่นคือกระบวนการฟิวชั่นที่สร้างนิวเคลียสที่มีหมายเลขอะตอมสูงกว่า 26 และมวลอะตอมมากกว่า 60 เรียกว่า[[กระบวนการดูดความร้อน]] นิวเคลียสมวลมากเหล่านี้ไม่สามารถสร้างปฏิกิริยาฟิวชั่นต่อเนื่องที่รักษา[[สภาวะสมดุลอุทกสถิต]]ของดาวฤกษ์เอาไว้ได้<ref name="raymond">{{cite web
| last=Raymond
| first=David
| date=April 7, 2006
| url=http://physics.nmt.edu/~raymond/classes/ph13xbook/node216.html
| title=Nuclear Binding Energies
| publisher=New Mexico Tech
| accessdate=2007-01-03 }}</ref>
| archive-date=2002-12-01
| archive-url=https://web.archive.org/web/20021201030437/http://physics.nmt.edu/~raymond/classes/ph13xbook/node216.html
| url-status=dead
}}</ref>
 
=== กลุ่มหมอกอิเล็กตรอน ===
เส้น 334 ⟶ 353:
| volume=157 | issue=3784 | pages=13–24
| doi=10.1126/science.157.3784.13
| pmid=5338306 }}</ref> รอบ ๆ นิวเคลียสจะมีออร์บิทัลที่ไม่ต่อเนื่องกันล้อมรอบอยู่ในลักษณะของควอนตา ทั้งนี้เพราะรูปแบบคลื่นอื่นที่เป็นไปได้จะสลายตัวไปอย่างรวดเร็วเข้าสู่สถานะที่เสถียรมากกว่า<ref name=Brucat>{{cite web | last=Brucat | first=Philip J. | year=2008 | url=http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_10.html | title=The Quantum Atom | publisher=University of Florida | accessdate=2007-01-04 | archive-date=2006-12-07 | archive-url=https://web.archive.org/web/20061207032136/http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_10.html | url-status=dead }}</ref> ออร์บิทัลอาจมีลักษณะวงแหวนหนึ่งวง หลายวง หรือเป็นโครงสร้างโหนดก็ได้ ซึ่งมีความแตกต่างจากออร์บิทัลอื่น ๆ ทั้งด้านขนาด รูปร่าง และศูนย์กลาง<ref>{{cite web
| last=Brucat | first=Philip J. | year=2008
| url=http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_10.html
| title=The Quantum Atom | publisher=University of Florida
| accessdate=2007-01-04 }}</ref> ออร์บิทัลอาจมีลักษณะวงแหวนหนึ่งวง หลายวง หรือเป็นโครงสร้างโหนดก็ได้ ซึ่งมีความแตกต่างจากออร์บิทัลอื่น ๆ ทั้งด้านขนาด รูปร่าง และศูนย์กลาง<ref>{{cite web
| last=Manthey | first=David | year=2001
| url=http://www.orbitals.com/orb/
เส้น 460 ⟶ 475:
 
รูปแบบการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีที่พบกันมากที่สุด ได้แก่<ref>L'Annunziata (2003:3–56).</ref><ref>{{cite web
| last=Firestone
| first=Richard B.
| date=May 22, 2000
| url=http://isotopes.lbl.gov/education/decmode.html
| title=Radioactive Decay Modes
| publisher=Berkeley Laboratory
| accessdate=2007-01-07 }}</ref>
| archive-date=2006-09-29
| archive-url=https://web.archive.org/web/20060929111801/http://isotopes.lbl.gov/education/decmode.html
| url-status=dead
}}</ref>
* [[การสลายปลดปล่อยอนุภาคอัลฟา]] เกิดขึ้นเมื่อนิวเคลียสปลดปล่อยอนุภาคอัลฟาออกมา คือนิวเคลียสฮีเลียมที่ประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัวและนิวตรอน 2 ตัว ผลจากการแผ่รังสีชนิดนี้จะได้ธาตุใหม่ที่มี[[เลขอะตอม]]น้อยลง
* [[การสลายปลดปล่อยอนุภาคบีตา]] เกิดขึ้นเนื่องจาก[[แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน]] เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงนิวตรอนกลายไปเป็นโปรตอน หรือโปรตอนกลายเป็นนิวตรอน แบบแรกคือการแผ่อิเล็กตรอน 1 ตัวกับ[[แอนตินิวตริโน]] 1 ตัว ส่วนแบบที่สองเป็นการแผ่[[โพสิตรอน]] 1 ตัวกับ [[นิวตริโน]] 1 ตัว การแผ่อนุภาคของอิเล็กตรอนหรือโพสิตรอนนั้นเรียกว่าอนุภาคบีตา ผลจากการแผ่รังสีชนิดนี้อาจทำให้เลขอะตอมของนิวเคลียสเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างละ 1 หน่วย
เส้น 482 ⟶ 503:
 
[[สนามแม่เหล็ก]]ที่เกิดขึ้นโดยอะตอม (หรือโมเมนต์แม่เหล็กของมัน) สามารถนิยามได้จากรูปแบบที่แตกต่างกันของโมเมนตัมเชิงมุม ว่าเป็นวัตถุมีประจุที่กำลังหมุนรอบตัวเองและสร้างสนามแม่เหล็กออกมา อย่างไรก็ดี คุณลักษณะอันโดดเด่นที่สุดก็เกิดขึ้นมาจากสปิน โดยธรรมชาติของอิเล็กตรอนแล้ว มันจะเป็นไปตาม[[หลักการกีดกันของเพาลี]] กล่าวคือ ไม่มีทางที่จะพบอิเล็กตรอน 2 ตัวอยู่ใน[[สถานะควอนตัม]]เดียวกันได้ อิเล็กตรอนที่เป็นคู่จะอยู่ตรงกันข้ามกัน ถ้าสมาชิกหนึ่งอยู่ในสถานะสปินขึ้น อีกตัวจะอยู่ในสถานะตรงกันข้าม คือสปินลง ดังนั้นค่าสปินทั้งสองจะหักล้างกันเอง ทำให้ลดแรงแม่เหล็กสองขั้วลงเป็นศูนย์สำหรับอะตอมบางตัวที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเป็นเลขคู่<ref name=schroeder>{{cite web
|last = Schroeder
| last=Schroeder|first=Paul A.
|first = Paul A.
| date = February 25, 2000
| url = http://www.gly.uga.edu/schroeder/geol3010/magnetics.html
| title = Magnetic Properties
| publisher = University of Georgia
| accessdate = 2007-01-07
| archiveurl = httphttps://web.archive.org/web/20070429150216/http://www.gly.uga.edu/schroeder/geol3010/magnetics.html <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate = 2007-04-29}}</ref>
|archivedate = 2007-04-29
|url-status = dead
}}</ref>
 
ในธาตุที่มีคุณสมบัติของ[[แม่เหล็กเฟอร์โร]] อย่างเช่น เหล็ก จำนวนอิเล็กตรอนที่เป็นเลขคี่ทำให้มีอิเล็กตรอนเหลือซึ่งไม่มีคู่ และทำให้เกิดผลรวมโมเมนต์แม่เหล็กสุทธิขึ้น วงโคจรของอะตอมข้างเคียงจะซ้อนทับกัน และไปสู่สถานะพลังงานที่ต่ำกว่าเมื่อสปินของอิเล็กตรอนที่ไม่มีคู่ได้แนวตรงกันกับตัวอื่น กระบวนการนี้รู้จักกันในชื่อ อันตรกิริยาแลกเปลี่ยน (exchange interaction) เมื่อเกิดแนวโมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมแม่เหล็กเฟอร์โรขึ้น สสารนั้นก็สามารถสร้างสนามแรงขนาดใหญ่ขึ้นจนตรวจวัดได้ สสารแบบพาราแม็กเนติกมีอะตอมที่มีโมเมนต์แม่เหล็กซึ่งสร้างแนวขึ้นในทิศทางแบบสุ่มโดยที่ไม่สามารถตรวจพบสนามแม่เหล็กเลย แต่โมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมแต่ละตัวนั้นเรียงแนวกันตามการก่อตัวของสนาม<ref name=schroeder/><ref>{{cite web
เส้น 509 ⟶ 534:
 
=== ระดับพลังงาน ===
อิเล็กตรอนที่ถูกดึงดูดอยู่ภายในอะตอมหนึ่ง ๆ จะมี[[พลังงานศักย์]]ซึ่งแปรผกผันกับระยะห่างของมันจากนิวเคลียส ค่านี้วัดได้จากขนาดของพลังงานที่จำเป็นต้องใช้เพื่อให้อิเล็กตรอนนั้นหลุดออกจากอะตอม โดยปกติใช้หน่วยวัดเป็น [[อิเล็กตรอนโวลต์]] (eV) ในแบบจำลองกลศาสตร์ควอนตัม อิเล็กตรอนที่มีพันธะจะสามารถครอบครองสถานะจำนวนหนึ่งรอบนิวเคลียส แต่ละสถานะนั้นสอดคล้องกับระดับพลังงานที่เฉพาะเจาะจง ระดับพลังงานที่ต่ำที่สุดของอิเล็กตรอนเรียกว่า สภาวะพื้น (ground state) ส่วนอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานที่สูงกว่าจะเรียกว่าอยู่ในสภาวะกระตุ้น (excited state)<ref>{{cite web| last=Zeghbroeck| first=Bart J. Van| year=1998| url=http://physics.ship.edu/~mrc/pfs/308/semicon_book/eband2.htm| title=Energy levels| publisher=Shippensburg University| accessdate=2007-12-23| archiveurl=https://web.archive.org/web/20050115030639/http://physics.ship.edu/~mrc/pfs/308/semicon_book/eband2.htm| archivedate=2005-01-15| url-status=live}}</ref>
| last=Zeghbroeck|first=Bart J. Van|year=1998
| url=http://physics.ship.edu/~mrc/pfs/308/semicon_book/eband2.htm
| title=Energy levels|publisher=Shippensburg University
| accessdate=2007-12-23| archiveurl = http://web.archive.org/web/20050115030639/http://physics.ship.edu/~mrc/pfs/308/semicon_book/eband2.htm| archivedate = January 15, 2005}}</ref>
 
อิเล็กตรอนที่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างสภาวะที่แตกต่างกันสองสภาวะ จะต้องดูดซับหรือปลดปล่อย[[โฟตอน]]ออกมาที่ระดับพลังงานหนึ่งซึ่งเท่ากับค่าแตกต่างของพลังงานศักย์ของสภาวะทั้งสอง พลังงานของโฟตอนที่ปลดปล่อยออกมาเป็นสัดส่วนกับ[[ความถี่]]ของมัน ดังนั้นระดับพลังงานที่เฉพาะเจาะจงจะมีช่วง[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]]ที่เป็นเอกลักษณ์<ref>Fowles (1989:227–233).</ref> ธาตุแต่ละชนิดจะมีสเปกตรัมเฉพาะ ขึ้นอยู่กับประจุนิวเคลียร์ ระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอน อันตรกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้าระหว่างอิเล็กตรอน และปัจจัยอื่น ๆ <ref>{{cite web
เส้น 530 ⟶ 551:
| publisher=Avogadro Web Site
| accessdate=2006-08-10
| archive-date=2006-02-28
| archive-url=https://web.archive.org/web/20060228231025/http://www.avogadro.co.uk/light/bohr/spectra.htm
| url-status=dead
}}</ref>
 
เส้น 593 ⟶ 617:
| url=http://www.nist.gov/public_affairs/releases/BEC_background.htm
| accessdate=2008-01-16}}</ref> กลุ่มของอะตอมที่เย็นยิ่งยวดนี้จะมีพฤติกรรมเป็น[[ซูเปอร์อะตอม]]หนึ่งเดียว ทำให้สามารถตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐานของพฤติกรรมทางกลศาสตร์ควอนตัมได้<ref>{{cite web
| last=Colton
| first=Imogen
| author2=Fyffe, Jeanette
| date=February 3, 1999
| url=http://www.ph.unimelb.edu.au/~ywong/poster/articles/bec.html
| title=Super Atoms from Bose-Einstein Condensation
| publisher=The University of Melbourne
| accessdate=2008-02-06
| archiveurl = httphttps://web.archive.org/web/20070829200820/http://www.ph.unimelb.edu.au/~ywong/poster/articles/bec.html
| archivedate = August 2007-08-29, 2007}}</ref>
| url-status=dead
}}</ref>
 
{{clear}}
เส้น 631 ⟶ 661:
โปรตอนและอิเล็กตรอนที่เสถียรเกิดขึ้นหลังจากเกิด[[บิกแบง]]เพียงหนึ่งวินาที ระหว่างช่วงสามนาทีต่อมา [[บิกแบงนิวคลีโอซินทีสิส]]ได้สร้างสสารส่วนใหญ่ของ[[ฮีเลียม]] [[ลิเทียม]] และ[[ดิวเทอเรียม]]ขึ้นในเอกภพ และบางทีอาจรวมถึง[[เบอริลเลียม]]และ[[โบรอน]]ด้วย<ref name=ns1794_42>{{cite journal |last=Croswell|first=Ken |title=Boron, bumps and the Big Bang: Was matter spread evenly when the Universe began? Perhaps not; the clues lie in the creation of the lighter elements such as boron and beryllium |journal=New Scientist|year=1991|issue=1794|pages=42 |url=http://space.newscientist.com/article/mg13217944.700-boron-bumps-and-the-big-bang-was-matter-spread-evenly-whenthe-universe-began-perhaps-not-the-clues-lie-in-the-creation-of-thelighter-elements-such-as-boron-and-beryllium.html |accessdate=2008-01-14}}</ref><ref name=science267_5195_192>{{cite journal |last=Copi|first=Craig J. |last2=Schramm|first2=DN |last3=Turner|first3=MS |year=1995 |title=Big-Bang Nucleosynthesis and the Baryon Density of the Universe |journal=[[Science (journal)|Science]] |volume=267|issue=5195 |pages=192–99 |doi = 10.1126/science.7809624 |pmid=7809624 |arxiv = astro-ph/9407006 |bibcode = 1995Sci...267..192C }}</ref><ref name=hinshaw20051215>{{cite web |last=Hinshaw|first=Gary|date=December 15, 2005 |url=http://map.gsfc.nasa.gov/m_uni/uni_101bbtest2.html |title=Tests of the Big Bang: The Light Elements |publisher=NASA/WMAP|accessdate=2008-01-13 }}</ref> อะตอมชุดแรก ๆ (ที่อิเล็กตรอนเป็นส่วนประกอบอย่างสมบูรณ์) ในทางทฤษฎีแล้วเชื่อว่าเกิดขึ้น 380,000 ปีหลังจากบิกแบง —คือยุคที่เรียกว่า recombination เมื่อเอกภพที่กำลังขยายตัวออกนั้นเย็นลงเพียงพอที่ทำให้อิเล็กตรอนสามารถเกาะติดกับนิวเคลียสได้<ref name=abbott20070530>{{cite web |last=Abbott|first=Brian|date=May 30, 2007 |url=http://www.haydenplanetarium.org/universe/duguide/exgg_wmap.php |title=Microwave (WMAP) All-Sky Survey |publisher=Hayden Planetarium|accessdate=2008-01-13 }}</ref> นับแต่นั้น นิวเคลียสอะตอมก็เริ่มรวมตัวเข้าใน[[ดาวฤกษ์]]ผ่านกระบวนการ[[นิวเคลียร์ฟิวชั่น]]และสร้างธาตุต่าง ๆ ขึ้นไปจนถึงเหล็ก<ref name=mnras106_343>{{cite journal |title=The synthesis of the elements from hydrogen |first=F. |last=Hoyle |journal=[[Monthly Notices of the Royal Astronomical Society]] |volume=106|pages=343–83|year=1946 |bibcode=1946MNRAS.106..343H}}</ref>
 
ไอโซโทปบางตัวเช่น ลิเทียม-6 เกิดขึ้นในอวกาศโดยผ่านสปอลเลชั่นของรังสีคอสมิก<ref name=nature405_656>{{cite journal |last=Knauth|first=D. C. |title=Newly synthesized lithium in the interstellar medium |journal=Nature |year=2000|volume=405|pages=656–58 |doi=10.1038/35015028 |last2=Knauth|first2=D. C. |last3=Lambert|first3=David L. |last4=Crane|first4=P. |pmid=10864316 |issue=6787}}</ref> เมื่อโปรตอนพลังงานสูงปะทะกับนิวเคลียสของอะตอม ทำให้นิวคลีออนจำนวนมากดีดตัวออกมา ธาตุที่หนักกว่าเหล็กเกิดขึ้นใน[[ซูเปอร์โนวา]]ผ่านกระบวนการ [[r-process]] และใน[[Asymptotic giant branch|ดาวฤกษ์ประเภท AGB]] ผ่านกระบวนการ [[s-process]] ทั้งสองกระบวนการนี้เกี่ยวข้องกับการที่นิวเคลียสอะตอมจับนิวตรอนเอาไว้<ref name=mashnik2000>{{cite arxiv |last=Mashnik|first=Stepan G. |year=2000 |title=On Solar System and Cosmic Rays Nucleosynthesis and Spallation Processes |class=astro-ph |arxiv=astro-ph/0008382 }}</ref> ธาตุบางชนิดเช่น [[ตะกั่ว]] ส่วนใหญ่ก่อตัวขึ้นผ่านกระบวนการสลายให้กัมมันตรังสีของธาตุที่หนักกว่า<ref name=kgs20050504>{{cite web |author=Kansas Geological Survey |date=May 4, 2005 |title=Age of the Earth |url=http://www.kgs.ku.edu/Extension/geotopics/earth_age.html |publisher=University of Kansas |accessdate=2008-01-14 |archive-date=2008-07-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080705052359/http://www.kgs.ku.edu/Extension/geotopics/earth_age.html |url-status=dead }}</ref>
 
=== โลก ===
เส้น 637 ⟶ 667:
| last=Dalrymple|first=G. Brent |title=The age of the Earth in the twentieth century: a problem (mostly) solved |journal=Geological Society, London, Special Publications |year=2001|volume=190 |issue=1|pages=205–21 |doi=10.1144/GSL.SP.2001.190.01.14 |url=http://sp.lyellcollection.org/cgi/content/abstract/190/1/205 |accessdate=2008-01-14}}</ref> [[ฮีเลียม]]ส่วนมากที่อยู่บริเวณเปลือกของโลก (ประมาณ 99% เป็นก๊าซ เช่น[[ฮีเลียม-3]] ที่มีอยู่เป็นจำนวนมหาศาล) เป็นผลที่เกิดจาก[[การสลายปลดปล่อยอนุภาคอัลฟา]]<ref name=anderson_foulger_meibom2006>{{cite web |last=Anderson|first=Don L. |authorlink=Don L. Anderson| author2=Foulger, G. R.| author3=Meibom, Anders |date=September 2, 2006 |url=http://www.mantleplumes.org/HeliumFundamentals.html |title=Helium: Fundamental models |publisher=MantlePlumes.org|accessdate=2007-01-14}}</ref>
 
มีอะตอมบางส่วนที่ตรวจพบว่าไม่ได้มีอยู่ตั้งแต่ตอนแรกกำเนิดโลก ทั้งไม่ได้เป็นผลที่เกิดจากการสลายตัวให้กัมมันตรังสี เช่น [[คาร์บอน-14]] เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจากรังสีคอสมิกในชั้นบรรยากาศ<ref name=pennicott2001>{{cite news |last=Pennicott|first=Katie|date=May 10, 2001 |title=Carbon clock could show the wrong time |publisher=PhysicsWeb |url=http://physicsworld.com/cws/article/news/2676 |accessdate=2008-01-14}}</ref> อะตอมบางชนิดบนโลกถูกประดิษฐ์ขึ้น ทั้งโดยที่ตั้งใจสร้าง หรือเป็นผลพลอยได้จากการแตกตัวหรือการระเบิดของนิวเคลียร์<ref name=yarris2001>{{cite news |last=Yarris |first=Lynn |date=July 27, 2001 |title=New Superheavy Elements 118 and 116 Discovered at Berkeley Lab |publisher=Berkeley Lab |url=http://enews.lbl.gov/Science-Articles/Archive/elements-116-118.html |accessdate=2008-01-14 }}</ref><ref name=pr119_6_2000>{{cite journal |author=Diamond, H |year=1960 |title=Heavy Isotope Abundances in Mike Thermonuclear Device |journal=[[Physical Review]] |volume=119 |issue=6 |pages=2000–04 |doi=10.1103/PhysRev.119.2000 |bibcode = 1960PhRv..119.2000D }}</ref> ในบรรดา[[ธาตุหลังยูเรเนียม]]—คือพวกที่มีเลขอะตอมมากกว่า 92— มีเพียง[[พลูโตเนียม]]กับ[[เนปจูเนียม]]เท่านั้นที่เกิดขึ้นบนโลกโดยธรรมชาติ<ref name=poston1998>{{cite web |author=Poston Sr., John W.|date=March 23, 1998 |title=Do transuranic elements such as plutonium ever occur naturally? |publisher=Scientific American |url=http://www.sciam.com/chemistry/article/id/do-transuranic-elements-s/topicID/4/catID/3 |accessdate=2008-01-15 }}</ref><ref name=cz97_10_522>{{cite journal |last=Keller|first=C. |title=Natural occurrence of lanthanides, actinides, and superheavy elements |journal=Chemiker Zeitung |year=1973|volume=97|issue=10|pages=522–30 |osti=4353086 }}</ref> ธาตุหลังยูเรเนียมนั้นมีอายุกัมมันตรังสีสั้นกว่าอายุปัจจุบันของโลก{{sfn|Zaider|Rossi|2001|p=17}} และจากปริมาณที่ตรวจได้แสดงว่าธาตุเหล่านั้นเริ่มสลายตัวมานานแล้ว มีข้อยกเว้นเพียง[[พลูโตเนียม-244]] ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากฝุ่นคอสมิก{{sfn|Manuel|2001|pp=407–430,511–519}} ส่วนตัวประกอบอื่นของพลูโตเนียมและเนปจูเนียมนั้นเกิดขึ้นจากการจับตัวของนิวตรอนในแร่ยูเรเนียม<ref name=ofr_cut>{{cite web |url=http://www.oklo.curtin.edu.au/index.cfm |title=Oklo Fossil Reactors |publisher=Curtin University of Technology |accessdate=2008-01-15 |archive-date=2007-12-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071218194159/http://www.oklo.curtin.edu.au/index.cfm |url-status=dead }}</ref>
 
โลกมีอะตอมอยู่ประมาณ {{val|1.33|e=50}} อะตอม<ref name=weisenberger>{{cite web |last=Weisenberger|first=Drew |url=http://education.jlab.org/qa/mathatom_05.html |title=How many atoms are there in the world? |publisher=Jefferson Lab |accessdate=2008-01-16}}</ref> ในชั้นบรรยากาศของดาว มีอะตอมอิสระของ[[ก๊าซเฉื่อย]]อยู่บ้างเล็กน้อย เช่น [[อาร์กอน]] และ [[นีออน]] ส่วนที่เหลือ 99% ของบรรยากาศจะอยู่ในรูปของโมเลกุล ซึ่งรวมไปถึง[[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[ออกซิเจน]]โมเลกุลคู่ และ[[ไนโตรเจน]] ที่พื้นผิวของโลก อะตอมรวมตัวกันเข้าเป็นสารประกอบหลายชนิด รวมถึง [[น้ำ]] [[เกลือ]] [[ซิลิเกต]] และ[[ออกไซด์]] อะตอมสามารถรวมตัวกันกลายเป็นสสารใหม่ซึ่งไม่ได้ประกอบด้วยโมเลกุลที่แยกจากกันก็ได้ เช่น[[คริสตัล]] และ[[โลหะ]]ที่เป็นของเหลวหรือของแข็ง<ref name=pidwirnyf>{{cite web |last=Pidwirny|first=Michael |url=http://www.physicalgeography.net/fundamentals/contents.html |title=Fundamentals of Physical Geography |publisher=University of British Columbia Okanagan |accessdate=2008-01-16 }}</ref><ref name=pnas99_22_13966>{{cite journal |last=Anderson|first=Don L. |title=The inner inner core of Earth |journal=Proceedings of the National Academy of Sciences |year=2002|volume=99|issue=22|pages=13966–68|doi=10.1073/pnas.232565899 |pmid=12391308 |pmc=137819|bibcode = 2002PNAS...9913966A }}</ref>
เส้น 648 ⟶ 678:
| pmid=12368837 |issue=6906 }}</ref><ref name=BBC20021030>{{cite news |author=Staff|date=October 30, 2002 |title=Researchers 'look inside' antimatter|publisher=BBC News |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/2375717.stm |accessdate=2008-01-14}}</ref>
 
อะตอมประหลาดอื่น ๆ ถูกสร้างขึ้นโดยการแทนที่โปรตอน นิวตรอน หรืออิเล็กตรอนตัวใดตัวหนึ่งด้วยอนุภาคอื่นที่มีประจุเดียวกัน ตัวอย่างเช่น การแทนที่อิเล็กตรอนด้วย[[มิวออน]]ซึ่งมีมวลมากกว่า ทำให้เกิด[[อะตอมมิวออนิก]]ขึ้น อะตอมจำพวกนี้สามารถใช้ทดสอบการทำนายพื้นฐานทางฟิสิกส์ได้<ref name=ns1728_77>{{cite journal |last=Barrett |first=Roger |title=The Strange World of the Exotic Atom |journal=New Scientist |year=1990 |issue=1728 |pages=77–115 |url=http://media.newscientist.com/article/mg12717284.600-the-strange-world-of-the-exotic-atom-physicists-can-nowmake-atoms-and-molecules-containing-negative-particles-other-than-electronsand-use-them-not-just-to-test-theories-but-also-to-fight-cancer-.html |accessdate=2008-01-04 |archive-date=2007-12-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071221164440/http://media.newscientist.com/article/mg12717284.600-the-strange-world-of-the-exotic-atom-physicists-can-nowmake-atoms-and-molecules-containing-negative-particles-other-than-electronsand-use-them-not-just-to-test-theories-but-also-to-fight-cancer-.html |url-status=dead }}</ref><ref name=psT112_1_20>{{cite journal |last=Indelicato|first=Paul |title=Exotic Atoms|journal=Physica Scripta |year=2004|volume=T112 |issue=1|pages=20–26 |doi=10.1238/Physica.Topical.112a00020 |arxiv = physics/0409058 |bibcode = 2004PhST..112...20I }}
</ref><ref name=ripin1998>{{cite web |last=Ripin|first=Barrett H.|year=1998 |url=http://www.aps.org/publications/apsnews/199807/experiment.cfm.html |title=Recent Experiments on Exotic Atoms |publisher=American Physical Society |accessdate=2008-02-15}}</ref>
 
เส้น 666 ⟶ 696:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Atom}}
* {{cite web | last=Francis | first=Eden | year=2002 | url=http://dl.clackamas.cc.or.us/ch104-07/atomic_size.htm | title=Atomic Size (ขนาดของอะตอม) | publisher=Clackamas Community College | accessdate=2007-01-09 | archive-date=2007-02-04 | archive-url=https://web.archive.org/web/20070204073653/http://dl.clackamas.cc.or.us/ch104-07/atomic_size.htm | url-status=dead }}
* {{cite web
| last=Francis | first=Eden | year=2002 | url=http://dl.clackamas.cc.or.us/ch104-07/atomic_size.htm
| title=Atomic Size (ขนาดของอะตอม) | publisher=Clackamas Community College
| accessdate=2007-01-09 }}
* {{cite web
| last=Freudenrich | first=Craig C. | url=http://www.howstuffworks.com/atom.htm
เส้น 677 ⟶ 704:
| url=http://en.wikibooks.org/wiki/FHSST_Physics_Atom:The_Atom
| work=Free High School Science Texts: Physics
| title=Atom:The Atom
| publisher=Wikibooks
| accessdate=2007-01-09 }}
| archive-date=2006-06-13
| archive-url=https://web.archive.org/web/20060613210720/http://en.wikibooks.org/wiki/FHSST_Physics_Atom:The_Atom
| url-status=dead
}}
* {{cite web
| author=Anonymous | year=2007 | url=http://www.scienceaid.co.uk/chemistry/basics/theatom.html
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะตอม"