ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุงคามสีมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
 
==สิทธิและหน้าที่==
เมื่อวัดอยู่ในฐานะ[[นิติบุคคล]] ก็ย่อมมีสิทธิหน้าที่ตามที่กฎหมาย เช่น วัดอาจเป็นเ้าหนี้เจ้าหนี้และลูกหนี้ มีสิทธิถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน มีความสามารถเข้าทำนิติกรรมสัญญา เป็นโจทก์และจำเลยทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา หรือเป็นคู่สัญญาโดยไม่ต้องใช้นามเจ้าอาวาสหรือ[[ไวยาวัจกร]]<ref>พระสิทธินิติธาดา, 71.</ref>
 
[[ทรัพย์สิน]]ของวัดในศาสนาพุทธ อันได้แก่ ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ ที่กัลปนา ที่ศาสนสมบัติกลาง ตลอดจนอาคาร เสนาสนะ และสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ทรัพย์สินเหล่านี้ถือเป็นทรัพย์สินที่ได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษ ซึ่งแตกต่างจากทรัพย์สินของศาสนสถานในศาสนาอื่นเช่น [[มัสยิด]]หรือ[[มิซซัง]] กล่าวคือ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มีบทบัญญัติเกี่ยวกับทรัพย์สินของวัดหรือ ศาสนสมบัติโดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาที่มิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง (2) ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใด